บทความสุขภาพ Archives - โรงพยาบาลเวชธานี

บทความสุขภาพ

Result 1 - of

ศูนย์สมองและระบบประสาท

เนื้องอกในสมอง: อาการ สาเหตุ วิธีตรวจ และเทคโนโลยีการรักษาล่าสุดที่คุณควรรู้
รู้ทันเนื้องอกในสมอง อาการปวดหัว แขนขาอ่อนแรง ตรวจด้วย MRI และรักษาด้วย Biplane DSA ปลอดภัย ฟื้นตัวไว

ศูนย์อายุรกรรม

ระวัง ! 5 กลุ่มโรคที่มาพร้อม “ฤดูฝน”
เมื่อฤดูฝนเริ่มต้นขึ้น หลายคนอาจรู้สึกเพลิดเพลินกับอากาศเย็นสบายและเสียงฝนที่โปรยปรายอย่างต่อเนื่อง แต่ในความชุ่มฉ่ำของฤดูนี้

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

มือชา ข้อมือปวด ระวังโรคพังผืดข้อมือกดทับเส้นประสาท
โรคพังผืดข้อมือกดทับเส้นประสาท เป็นโรคที่พบได้บ่อยในคนที่ใช้มือทำงานหนักๆ หรือการทำงานที่ต้องมีการเคลื่อนไหวข้อมือซ้ำๆ เช่น การพิมพ์งาน

ศูนย์หัวใจ

ความดันโลหิตสูง ไม่แสดงอาการ แต่ร้ายแรงกว่าที่คิด
วันที่ 17 พฤษภาคมของทุกปี ถูกกำหนดให้เป็น “วันความดันโลหิตสูงโลก” (World Hypertension Day) แม้จะเป็นโรคที่พบได้บ่อยในสังคมไทย

ศูนย์หัวใจ

การทำบอลลูน VS ผ่าตัดบายพาสหัวใจ รักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
โรคหลอดเลือดหัวใจตีบหรือตัน เป็นปัญหาสุขภาพที่พบได้บ่อย โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หรือมีประวัติครอบครัวเป็นโรคหัวใจ เมื่อเกิดภาวะนี้ขึ้น แพทย์จะพิจารณาแนวทางการรักษาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย ในปัจจุบัน มีแนวทางการรักษาหลัก 3 วิธี ได้แก่ การรักษาด้วยยา การทำบอลลูน และการผ่าตัดบายพาสหัวใจ โดยในเบื้องต้นแพทย์จะรักษาด้วยยา แต่หากว่าหลอดเลือดตีบเกิน 70% จะต้องผ่าตัดด้วยการทำบอลลูนหรือทำบายพาส ซึ่งทั้งสองวิธีมีข้อดีและข้อจำกัดที่แตกต่างกันออกไป 1. การทำบอลลูน (Balloon Angioplasty) การทำบอลลูนหัวใจ หรือการขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน (Percutaneous Coronary Intervention: PCI) เป็นวิธีการสอดสายสวนที่มีบอลลูนขนาดเล็กเข้าไปในหลอดเลือดที่ตีบ จากนั้นจึงขยายบอลลูนเพื่อเพิ่มพื้นที่ให้เลือดไหลผ่านได้สะดวกขึ้น และในหลายกรณี แพทย์อาจใส่ขดลวดค้ำยัน (Stent) ที่มีลักษณะเป็นโครงตาข่าย เพื่อป้องกันไม่ให้หลอดเลือดตีบซ้ำ ข้อดีของการทำบอลลูน ข้อจำกัดของการทำบอลลูน 2. การทำบายพาส (Coronary Artery Bypass Surgery) การผ่าตัดบายพาสหัวใจ หรือ Coronary Artery Bypass Grafting (CABG) […]

ศูนย์โรคทางเดินปัสสาวะ และศูนย์สุขภาพเพศชาย

รักษาต่อมลูกหมากโตแบบไม่ต้องผ่าตัด ปลอดภัย ลดภาวะแทรกซ้อน
โรคต่อมลูกหมากโต เป็นโรคที่พบได้บ่อยในผู้ชายอายุ 50 ปีขึ้นไป ปัจจัยหลักเกิดจากมีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนเพศชายเมื่ออายุมากขึ้น

ศูนย์กุมารเวชกรรม

เด็ก 2 ขวบปีแรกห่างไกลไวรัส RSV ด้วยภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป
หนึ่งในโรคติดเชื้อที่ทำให้พ่อแม่ผู้ปกครองเป็นกังวลมากที่สุด คงหนีไม่พ้นโรคติดเชื้อไวรัส RSV (Respiratory Syncytial Virus) ซึ่งมักระบาดในกลุ่มเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 3 ปี

ศูนย์ตา

โรคต้อหิน ภัยเงียบที่ต้องรับมือ
เมื่ออายุมากขึ้น ร่างกายและอวัยวะต่างๆ เริ่มมีความเสื่อมสภาพตามวัย และตาก็เป็นหนึ่งในอวัยวะสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม โดยโรคตาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุมีหลายประเภท

ศูนย์อายุรกรรม

ตัวร้อน ไอจาม อาจไม่ใช่ไข้หวัดคุณอาจกำลังเป็น COVID-19
อย่าเพิ่งมั่นใจว่าเป็นแค่ “ไข้หวัดใหญ่” นะเพราะตอนนี้ โควิด กำลังระบาดเงียบๆ หลายคนติดโดยไม่รู้ตัว ซึ่งมีอาการคล้ายหวัด แต่เชื้อแพร่เร็ว หายช้า
91375