บทความสุขภาพ

Result 190 - of

ศูนย์ตรวจสุขภาพ

เตรียมตัวก่อนตรวจสุขภาพ เพื่อผลที่แม่นยำ
ก่อนเข้ารับการตรวจสุขภาพที่โรงพยาบาลควรเตรียมตัวและเตรียมร่างกายให้พร้อม เพื่อความแม่นยำ และลดโอกาสที่ผลตรวจจะคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง

ศูนย์สุขภาพสตรี

เชื้อราในช่องคลอด เป็นแล้วเป็นอีกทำยังไงดี
โรคที่มักจะมากับความชื้นที่เรารู้จักกันดี นั่นก็คือ “โรคเชื้อราในช่องคลอด” นั่นเอง ใครเคยเป็นโรคนี้จะเข้าใจ ถึงแม้จะเป็นโรคที่ไม่ได้อันตรายอะไรมากมาย แต่สร้างความลำบาก เพราะมันจะทำให้เกิดอาการคันในบริเวณนั้นมาก

ศูนย์สมองและระบบประสาท

ลดอาการสั่นจากโรคพาร์กินสัน ด้วยการฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าในสมอง
เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าในสมอง ทางเลือกสำหรับผู้ป่วยโรคพาร์กินสันที่ไม่ตอบสนองต่อยาหรือมีอาการรุนแรง ช่วยลดอาการสั่นและเคลื่อนไหวช้า และยังสามารถลดการรับประทานยาถึงร้อยละ 50

ศูนย์กระดูกและข้อ

3 สาเหตุเดินแล้วปวดเท้า
เวลาเดินแล้วรู้สึกปวดข้อเท้า หรือ ปวดเท้า สงสัยกันไหม ว่าทำไมถึงปวด และมันเป็นสัญญาณเตือนโรคร้ายแรงที่เกี่ยวกับเท้าของเราหรือเปล่า ?? เวลาเดินแล้วปวดข้อเท้าหรือปวดเท้า อาจเกิดจากสิ่งเหล่านี้

ศูนย์สุขภาพสตรี

ช่องคลอดหย่อนคล้อย ปัญหาใหญ่ของหญิงสูงวัย
เมื่อเวลาผ่านไป ผู้หญิงอายุเพิ่มมากขึ้น ฮอร์โมนเอสโตเจนลดลง มักจะมาพร้อมกับปัญหาสุขภาพสตรีมากมาย ซึ่งรวมไปถึงปัญหาช่องคลอดหย่อนคล้อยด้วย

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

กินข้าวเหนียวมะม่วงยังไงไม่ให้ลงพุง
ถึงแม้ว่าข้าวเหนียวมะม่วงจะเป็นอาหารแสนอร่อยของใครหลายคน แต่เป็นอาหารที่ให้พลังงานที่สูงมาก หากกินมาก ๆ จะทำให้รับพลังงานเกินจำเป็นกลายเป็นไขมันไปสะสมที่ส่วนต่าง ๆ แทนได้ มาดูวิธีกินข้าวเหนียวมะม่วงอย่างไรไม่ให้อ้วน มี 4 ข้อดังนี้

ศูนย์กุมารเวชกรรม

มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก โรคยอดฮิตติด 1 ใน 3
ปัจจุบัน ในประเทศไทยมีการตรวจพบโรคมะเร็งในเด็กปีละประมาณ 1,000 – 3,000 ราย และพบในทุกช่วงอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยรุ่น โดยโรคที่พบได้บ่อยที่สุดคือ โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันหรือลูคีเมีย ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 38.1 ของมะเร็งทั้งหมดในเด็ก

ศูนย์อายุรกรรม

สูงวัยจำเป็นต้องได้รับวัคซีนอะไรบ้าง
สงกรานต์ไม่รู้จะไปไหน พาคุณพ่อคุณแม่สูงวัยมาฉีดวัคซีนเสริมภูมิคุ้มกัน และช่วยลดให้ความรุนแรงของโรคให้น้อยลงได้ แล้วผู้สูงอายุควรรับวัคซีนอะไรบ้าง

ศูนย์มะเร็ง

Easy Pump นวัตกรรมใหม่ให้ยาเคมีบำบัดแบบพกพา
การให้ยาเคมีบำบัดผู้ป่วยมะเร็งระบบทางเดินอาหาร เช่น มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งตับอ่อน ผู้ป่วยจำเป็นต้องนอนโรงพยาบาลอย่างน้อย 3 วัน 2 คืน เพราะเป็นการให้ยาต่อเนื่อง 48 ชั่วโมง ต่อ 1 รอบ
1981279