ศูนย์อายุรกรรม

3 ช่องทางรับเชื้อ COVID-19
COVID-19 สามารถติดต่อกันได้ด้วยการสัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ป่วย เช่น น้ำมูก น้ำลาย จากการไอ จาม หรือแม้แต่การรับประทานอาหารร่วมกัน ดังนั้น แค่ใส่หน้ากากอนามัยอาจยังไม่เพียงพอต่อการป้องกันเชื้อโรค แต่ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสใบหน้าของตัวเองด้วย เพราะบนใบหน้าของเราสามารถรับเชื้อ COVID-19 ได้จากช่องทางดังต่อไปนี้

ศูนย์อายุรกรรม

8 กลุ่มเสี่ยง ที่อาจมีอาการรุนแรงหากติดโควิด-19
ตั้งแต่เริ่มมีการระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ทำให้ทราบว่าอาการแสดงเกิดขึ้นได้หลากหลาย ผู้ป่วยบางคนอาจไม่แสดงอาการใด ๆ เลย ในขณะที่ผู้ป่วยบางคนอาจมีอาการหนักมากจนต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ โดยอาการรุนแรงอาจเกิดขึ้นได้กับกลุ่มที่เสี่ยง เช่น เด็กเล็ก, คนท้อง, ผู้สูงอายุ กลุ่มความดันโลหิตสูง หรือผู้ที่มีโรคประจำตัว มาดูกันว่าคุณหรือคนในครอบครัวมีโรคประจำตัวที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงนี้หรือไม่

ศูนย์อายุรกรรม

เข้าใจใหม่ ! ติดเชื้อ HIV ไม่ได้แปลว่าเป็นเอดส์
เชื้อไวรัสที่จะทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาว CD4 ซึ่งทำหน้าที่ต่อสู้กับเชื้อโรคและเชื้อไวรัสต่าง ๆ เมื่อเซลล์ CD4 ถูกทำลายจนอ่อนแอลงเรื่อย ๆ ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายก็จะถูกเชื้อไวรัสเอชไอวีโจมตีจนไม่สามารถต่อสู้กับเชื้อโรคได้และก่อให้เกิดโรคเอดส์ในที่สุด

ศูนย์อายุรกรรม

ทุกคนมีโอกาสเป็น โรคไต…ไม่ใช่แค่กินเค็ม
โรคไตติดอันดับ 1 ใน 5 โรคยอดฮิตของคนไทย พบได้ทุกเพศ ทุกวัย ไม่เฉพาะแค่ผู้สูงอายุ ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่พบบ่อยที่สุดคือโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง #หัวใจ รองลงมาคือโรคไตอักเสบ นิ่วไต และการใช้ยาที่มีผลเสียต่อไตหรือได้รับสารเคมีบางชนิด

ศูนย์อายุรกรรม

ไทรอยด์…ปล่อยไว้อาจหัวใจวาย อันตรายถึงชีวิต
ระบบเผาผลาญผิดปกติ อารมณ์แปรปรวน ผมร่วง สัญญาณเบื้องต้นของโรคไทรอยด์ ต้องรีบรักษาก่อนลุกลามและเกิดภาวะแทรกซ้อน

ศูนย์อายุรกรรม

สีน้ำมูกบอกความรุนแรงของหวัด
ในช่วงที่ฝนตกบ่อยและอากาศเริ่มเย็นลง ทำให้หลายคนอาจเป็น #หวัด และอาการที่มักจะมากับหวัดคือ #น้ำมูก ซึ่งสีของน้ำมูกนั้นอาจเป็นสัญญาณบ่งบอกถึงระดับความรุนแรงของโรคหวัดได้

ศูนย์อายุรกรรม

จุดจ้ำเลือด จากโรคไขกระดูกบกพร่อง
เกล็ดเลือดที่ถูกสร้างจากไขกระดูก มีหน้าที่ช่วยให้เลือดหยุด หากไขกระดูกบกพร่อง ทำให้ไม่สามารถสร้างเกล็ดเลือดได้เพียงพอ จึงทำให้คนไข้มีจุดจ้ำเลือดตามตัว

ศูนย์อายุรกรรม

ไขกระดูกฝ่อ โรคอันตรายที่ใครก็เสี่ยง
โรคของเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด หรือ stem cell มีความผิดปกติที่มีปริมาณลดลง จนไม่สามารถสร้างเม็ดเลือดได้เพียงพอ

ศูนย์อายุรกรรม

งูสวัดอันตรายถึงชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน แต่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
โรคงูสวัด เกิดจากเชื้อไวรัสวาริเซลลาซอสเตอร์ (Varicella Zoster Virus: VZV) ซึ่งเป็นชนิดเดียวกับที่ทำให้เกิดโรคสุกใส โดยหากเชื้อไวรัสกระจายไปทั่วร่างกายจะทำให้เป็นโรคสุกใส แต่ถ้าไวรัสเข้าไปตามเส้นประสาทส่วนปลายจะทำให้เป็นโรคงูสวัด
4565