ศูนย์อายุรกรรม

โควิด …มีชีวิตอยู่ได้กี่วัน ?
โควิด สภาพแวดล้อมเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่มีผลต่อการมีชีวิตอยู่ของเชื้อไวรัส มาดูกันว่าแต่ละสภาพแวดล้อมและพื้นผิววัสดุไวรัสจะมีอายุอยู่ได้นานแค่ไหน เชื้อไวรัสในละอองฝอยน้ำมูก น้ำลาย น้ำตา และเสมหะอยู่รอดในอากาศได้ 3 ชั่วโมง คำแนะนำ : ใส่หน้ากากอนามัยเมื่อต้องไปในที่ที่คนแออัดและเว้นระยะห่างจากผู้อื่นอย่างน้อย 2 เมตร

ศูนย์อายุรกรรม

ป้องกันแค่ไหน ถ้ายังสัมผัส ก็เสี่ยงติดเชื้อ COVID-19
จุดเสี่ยง เลี่ยงสัมผัส เยื่อบุบริเวณใบหน้า ไม่ว่าจะเป็น เยื่อบุตา เยื่อบุจมูก เยื่อบุริมฝีปาก ซึ่งเป็นส่วนที่สามารถรับเชื้อโรคได้ เช่น หากเราไปสัมผัสลูกบิดประตู พื้น โต๊ะ เก้าอี้ ที่มีผู้ป่วยติดเชื้อไวรัส ไอ จาม รดใส่ไว้ที่พื้นผิวนั้น ๆ แล้วนำมือมาขยี้ดวงตา เชื้อไวรัสก็จะเข้าสู่ร่างกายทางเยื่อบุตาและสามารถติดเชื้อได้

ศูนย์อายุรกรรม

ฝุ่น PM 2.5 มหันตภัย ฝุ่นจิ๋ว
PM2.5 ฝุ่นจิ๋ว ที่ส่งผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจ หัวใจ หลอดเลือด ก่อให้เกิดภูมิแพ้หรือผื่นแพ้เรื้อรัง และทำให้เกิดอนุมูลอิสระเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง อัลไซเมอร์ รวมทั้งมะเร็งนอกจากนี้ฝุ่นยังเป็นพาหะนำโลหะหนักเข้าสู่ร่างกาย ทั้งสารหนู ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม อะลูมิเนียม และสารก่อมะเร็งอื่น ๆ

ศูนย์อายุรกรรม

แพทย์แนะวิธีรับมือ COVID-19 สวมหน้ากากอนามัย-ล้างมือบ่อย ๆ ป้องกันได้
แพทย์หญิงญาดา หลุยเจริญ อายุรศาสตร์โรคระบบการหายใจและภาวะวิกฤตโรคระบบการหายใจ โรงพยาบาลเวชธานี เปิดเผยว่า 2019-nCoV (Novel Coronavirus 2019 Pneumonia) หรือไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 เป็นไวรัสในกลุ่มโคโรนาเช่นเดียวกับเมอร์ส (MERS) และซาร์ส (SARS) ซึ่งเป็นโรคติดต่อทางเดินหายใจและมีความรุนแรงของโรคสูง

ศูนย์อายุรกรรม

เข้า ห้องน้ำสาธารณะ เสี่ยงโรคจริงหรือ ?
ใน ห้องน้ำสาธารณะ มีเชื้อโรคอยู่มากจริง ๆ ทั้งเชื้อโรคที่มาจากการขับถ่าย จากมือที่สัมผัสจุดต่างๆให้ห้องน้ำ หรือเชื้อโรคในอากาศ เช่น เชื้อหวัด เนื่องจากการถ่ายเทอากาศในห้องน้ำมักจะไม่ดีนัก เชื้อที่พบได้ ก็เช่นเชื้อโรคจากลำไส้ เชื้อไวรัสตับอักเสบเอ เชื้อคลาไมเดีย หรือหนองใน

ศูนย์อายุรกรรม

ผู้ติดเชื้อ HIV ก็มีลูกอย่างปลอดภัยได้
ปัจจุบันแนวทางการรักษาผู้ป่วยติดเชื้อ HIV พัฒนาไปมาก และด้วยการใช้ยาต้านไวรัสที่มีประสิทธิภาพ ทำให้ผู้ติดเชื้อ HIV มีสุขภาพที่แข็งแรง มีชีวิตที่ยืนยาว

ศูนย์อายุรกรรม

5 ข้อควรรู้ ‘ โรคเกาต์เทียม ‘ปวดบวมข้อ แต่ไม่สัมพันธ์กับยูริก
โรคเกาต์เทียม เรามักตั้งข้อสังเกตกันว่า หากมีอาการปวดบวมแดง เป็นๆ หายๆ ที่บริเวณข้อต่างๆ อาจเกิดจากโรคเกาต์ แต่จริงๆ แล้วมีโรคข้ออักเสบอีกชนิดหนึ่งที่อาการแสดงคล้ายกันมาก แต่ไม่ได้สัมพันธ์กับภาวะกรดยูริกสูง คือ โรคเกาต์เทียม ซึ่งพบได้บ่อยไม่แพ้กันโดยเฉพาะในผู้ป่วยสูงอายุ หากไม่ได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้องอาจนำไปสู่การรักษาที่ผิดวิธี และอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาได้

ศูนย์อายุรกรรม

โรคเกาต์ รักษาให้หายได้หรือไม่?
โรคเกาต์ เกาต์เป็นโรคข้ออักเสบที่เกิดจากระดับกรดยูริกในเลือดสูง สาเหตุสําคัญมาจากกรรมพันธุ์ อายุที่มากขึ้น และการ ทํางานของไตลดลง แต่ในผู้ป่วยบางรายอาจเกิดจากการใช้ยาบางชนิด และการดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมาก

ศูนย์อายุรกรรม

รู้หรือไม่ รูมาตอยด์ ไม่ใช่แค่โรคข้ออักเสบ
รูมาตอยด์ เป็นโรคข้ออักเสบเรื้อรัง ที่อาจเกิดข้ออักเสบได้ทุกตำแหน่งทั่วทั้งตัว ตำแหน่งที่ข้ออักเสบ จะมีลักษณะบวม แดง กดเจ็บ และเมื่อสัมผัสจะรู้สึกอุ่น หรือร้อนกว่าตำแหน่งอื่น และหากปล่อยไว้ ไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องจะเกิดการทำลายข้อ และเกิดข้อผิดรูป พิการอย่างถาวรได้
6367