ศูนย์อายุรกรรม

จุดจ้ำเลือด จากโรคไขกระดูกบกพร่อง
เกล็ดเลือดที่ถูกสร้างจากไขกระดูก มีหน้าที่ช่วยให้เลือดหยุด หากไขกระดูกบกพร่อง ทำให้ไม่สามารถสร้างเกล็ดเลือดได้เพียงพอ จึงทำให้คนไข้มีจุดจ้ำเลือดตามตัว

ศูนย์อายุรกรรม

ไขกระดูกฝ่อ โรคอันตรายที่ใครก็เสี่ยง
โรคของเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด หรือ stem cell มีความผิดปกติที่มีปริมาณลดลง จนไม่สามารถสร้างเม็ดเลือดได้เพียงพอ

ศูนย์อายุรกรรม

งูสวัดอันตรายถึงชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน แต่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
โรคงูสวัด เกิดจากเชื้อไวรัสวาริเซลลาซอสเตอร์ (Varicella Zoster Virus: VZV) ซึ่งเป็นชนิดเดียวกับที่ทำให้เกิดโรคสุกใส โดยหากเชื้อไวรัสกระจายไปทั่วร่างกายจะทำให้เป็นโรคสุกใส แต่ถ้าไวรัสเข้าไปตามเส้นประสาทส่วนปลายจะทำให้เป็นโรคงูสวัด

ศูนย์อายุรกรรม

โรคเกาต์ห้ามกินอะไร?
โรคเกาต์ห้ามกินอะไร? เป็นเรื่องที่เราได้ยินกันอย่างคุ้นหู ว่าเป็นโรคเกาต์แล้วห้ามกินสัตว์ปีก ห้ามกินยอดผัก และอาหารอีกหลายชนิด เรื่องเหล่านั้นเป็นความจริงหรือไม่?

ศูนย์อายุรกรรม

ไข้เลือดออก ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
เมื่อเข้าสู่ฤดูฝนประเทศไทยมักจะพบโรคไข้เลือดออกระบาดมากขึ้น เพราะยุงลายที่เป็นพาหะของโรคมีแหล่งเพาะพันธุ์มากขึ้น แต่ปัจจุบันสามารถฉีดวัคซีนป้องกันไข้เลือดออกได้ถึง 4 สายพันธุ์ และยังลดอัตราการป่วยรุนแรงจากไวรัสเดงกีได้ร้อยละ 92.9

ศูนย์อายุรกรรม

ปวดเกาต์ อย่าซื้อยาเอง เสี่ยงภาวะแทรกซ้อนและเสียชีวิต
แพทย์หญิงบุษกร ดาราวรรณกุล อายุรแพทย์โรคข้อและรูมาติซึม โรงพยาบาลเวชธานี ระบุว่า เกาต์ (Gout) เป็นโรคข้ออักเสบที่เกิดจากระดับกรดยูริกในเลือดสูงมาเป็นเวลานาน จนเกิดการตกตะกอนสะสมเป็นผลึกเกลือยูเรตตามเนื้อเยื่อบริเวณต่าง ๆ โดยเฉพาะในข้อและบริเวณรอบข้อ เมื่อมีปัจจัยบางอย่างมากระตุ้นจะทำให้ข้ออักเสบเฉียบพลันรุนแรง ปวดเกาต์

ศูนย์อายุรกรรม

สูงวัยหายห่วงด้วย วัคซีนปอดอักเสบ
โรค ปอดอักเสบ สามารถป้องกันได้ด้วยการรับวัคซีนป้องกันโรค โรคปอดอักเสบเป็นโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ ซึ่งเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus pneumoniae สามารถติดต่อได้จากการสัมผัสละอองฝอยจากการไอหรือการจาม โรคปอดอักเสบสามารถป้องกันด้วยการฉีดนิวโมคอคคัลวัคซีน

ศูนย์อายุรกรรม

เชื้อ COVID-19 ในสารคัดหลั่งไหนมากที่สุด ?
COVID-19 น้ำมูก 97.9 % น้ำลาย 88.6 % อุจจาระ 70.8 % ในลำคอ 60 % เลือด 12.3 % น้ำตา 1.1 % ปัสสาวะ ไม่พบเชื้อ อสุจิ ไม่พบเชื้อ น้ำหล่อลื่นในช่องคลอด ไม่พบเชื้อ ขอบคุณข้อมูลจากศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข

ศูนย์อายุรกรรม

5 วิธีดูแลสมาร์ทโฟนไม่ให้เป็น พาหะนำเชื้อ COVID-19 สู่ร่างกายเรา
มือถือหรือสมาร์ทโฟนเป็นอีกแหล่งพาหะนำเชื้อ COVID-19 ที่หลายคนมองข้าม ดังนั้นการทำความสะอาด จึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างมาก และนี่คือ 5 วิธีการทำความสะอาดและใช้สมาร์ทโฟนในช่วงที่ COVID-19 ระบาด
5468