ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

หักนิ้ว เสี่ยงนิ้วล็อคจริงหรือ ?
หลายคนคงนั่งหักนิ้วผ่อนคลายกันอยู่ แล้วความเชื่อที่ว่าหักนิ้วบ่อยๆ ระวังเป็นนิ้วล็อค อันนี้จริงหรือเปล่า ?

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

ปรับพฤติกรรม ห่างไกลนิ้วล็อค
นิ้วล็อคมักพบได้บ่อยในกลุ่มอายุ 40-60 ปี ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ซึ่งปัจจัยเสี่ยงคือพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่ใช้มือทำต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น การถือหรือแบกของหนักเป็นเวลานาน ใช้อุปกรณ์ที่ต้องออกแรงกดต่อเนื่อง หรือแม้กระทั่งการใช้โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์มากเกินไป ก็อาจทำให้เกิดอาการนิ้วล็อคได้

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

5 วิธีคลายล็อค
อาการนิ้วล็อค ส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่ใช้มือทำต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น การถือหรือแบกของหนักเป็นเวลานาน

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

เช็กหน่อย อาการที่พบบ่อยจากออฟฟิศซินโดรม
ปวดกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตามตำแหน่งกล้ามเนื้อที่ใช้งานมาก: ปวดต้นคอ บ่า สะบัก บั้นเอว และสะโพก อาการปวดสามารถเป็นได้ตั้งแต่ปวดตื้อๆ พอรำคาญ ไปถึงการปวดรุนแรงรบกวนชีวิตประจำวันหรือการนอนได้ ในบางครั้งอาจะทำให้เข้าใจผิดคิดว่าเป็นอาการปวดศรีษะหรือปวดไมเกรนได้

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

ใช้มือไม่พัก ระวังนิ้วล็อก
อาการนิ้วล็อค ส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่ใช้มือทำต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น การถือหรือแบกของหนักเป็นเวลานาน ใช้อุปกรณ์ที่ต้องออกแรงกดต่อเนื่อง หรือแม้กระทั่งการใช้โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์มากเกินไป

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

4 ระยะ นิ้วล็อก ที่เป็นแล้วห้ามละเลย
โรค นิ้วล็อค มักมีอาการเจ็บที่ฝ่ามือ บริเวณใต้ข้อต่อโคนนิ้วมือ หากเป็นมากขึ้นอาจมีอาการสะดุดเวลากำหรือเหยียดนิ้วมือได้ โดยอาการของโรคมักพบมากหลังจากตื่นนอนตอนเช้า หรือตอนที่ใช้งานมือหนัก ๆ ต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

” นิ้วล็อค ” รักษาได้แค่สะกิด
ปัจจุบันแพทย์จะใช้เครื่องมือพิเศษ พร้อมด้วยเครื่องอัลตราซาวด์ โดยฉีดยาชาที่มือแล้วสอดเข็มเข้าไปบริเวณโคนนิ้วที่มีอาการ นิ้วล็อค จากนั้นใช้ปลายเข็มสะกิดปลอกหุ้มเอ็นนิ้ว ตัดปลอกหุ้มเส้นเอ็นที่รัดเส้นเอ็นให้ขาดออกจากกันเหมือนการผ่าตัดปกติ ซึ่งจะใช้เวลาเพียง 5 นาที และสามารถโดนน้ำได้ตามปกติหลังครบ 24 ชั่วโมง

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

อาการแบบนี้ บ่งชี้โรค นิ้วล็อก
ผู้ป่วยโรค นิ้วล็อค มักมีอาการเจ็บที่ฝ่ามือ บริเวณใต้ข้อต่อโคนนิ้วมือ หากเป็นมากขึ้นอาจมีอาการสะดุดเวลากำหรือเหยียดนิ้วมือได้ โดยอาการของโรคมักพบมากหลังจากตื่นนอนตอนเช้า หรือตอนที่ใช้งานมือหนัก ๆ ต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน #ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์กระดูกและข้อ โทร. 02-734-0000 ต่อ 2298, 2299

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

นิ้วล็อก รักษาได้ โดยไม่ต้องผ่าตัดเปิดแผล
โรคนิ้วล็อก หากปล่อยทิ้งไว้ไม่รีบรักษา อาจทำให้ปลอกเส้นเอ็นนิ้วเสียหายถาวร ปัจจุบันแพทย์สามารถรักษาด้วยเทคนิคการสะกิด แผลเล็ก เจ็บน้อย ใช้เวลาเพียง 5 นาที เท่านั้น
4545