วูบ-หัวใจเต้นเร็ว สัญญาณเตือนหัวใจเต้นผิดจังหวะ ปล่อยไว้อันตรายถึงชีวิต
โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Cardiac Arrhythmia) คือ ภาวะที่หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะตามธรรมชาติ อาจเต้นเร็วหรือช้าเกินไป จนทำให้ประสิทธิภาพการสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายลดลง และอาจส่งผลให้เกิดความเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลวหรือหลอดเลือดสมองอุดตัน ซึ่งเป็นอันตรายถึงชีวิต

COVID-19 ไวรัสที่นำไปสู่โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ
จากการรายงานข้อมูลทั่วโลกพบว่าอัตราการเกิดลองโควิดมีประมาณร้อยละ 40 – 60 ซึ่งอาจเกิดจากภูมิคุ้มกันลดลงจากภาวะการอักเสบของร่างกายในขณะติดเชื้อโควิด – 19 การแยกรักษาตัวอยู่บ้านหรือนอนโรงพยาบาลเป็นเวลานาน

รู้ทันโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ มีอาการอะไรบ้าง
โดยปกติแล้ว อัตราการเต้นของหัวใจจะอยู่ที่ประมาณ 50-100 ครั้งต่อนาที หากมีอัตราการเต้นช้าหรือเร็วกว่านี้ก็จะเข้าข่ายภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ

5 อาการใจสั่น ถ้าเป็นแล้วอาจผิดปกติ
อาการใจสั่น ใจหวิว สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน เมื่อตื่นเต้น เครียด หรือ กังวล หรือดื่มเครื่องดื่ม การทานยาบางชนิดก็ทำให้มีอาการได้เช่นกัน แต่ก็ไม่ควรวางใจอยู่ดี เพราะถ้าหากเกิดจากปัญหาสุขภาพก็อาจทำให้เสี่ยงเสียชีวิตได้เลยทีเดียว

หัวใจกำลังบอกอะไรคุณหรือเปล่า
ความผิดปกติของหัวใจอาจเป็นสัญญาณบอก “โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ” อยู่ก็เป็นได้ ลองเช็กหัวใจกันหน่อยว่ามีอาการเหล่านี้หรือเปล่า ใจสั่น หัวใจเต้นแรง หายใจหอบเหนื่อย เจ็บแน่นหน้าอก หัวใจเต้นผิดปกติ หน้ามืด ตาลาย เป็นลมหมดสติ

Check list 5 อาการ สัญญาณบอกโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ใจสั่น หัวใจเต้นแรง หายใจเหนื่อย เจ็บแน่นหน้าอก หน้ามืด ตาลาย เป็นลมหมดสติ เป็นอาการเบื้องต้นของโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ แต่ผู้ป่วยหลายรายมักไม่รีบมาพบแพทย์ แล้วปล่อยทิ้งไว้จนรบกวนการใช้ชีวิตและมีอาการมากขึ้น

ลดปัจจัยเสี่ยงเลี่ยง “หัวใจเต้นผิดจังหวะ”
โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือชนิดเต้นเร็วและเต้นช้ากว่าปกติ สามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นความผิดปกติของโครงสร้างหัวใจ เช่น โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด กล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ ลิ้นหัวใจรั่ว ,

รักษาโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะด้วยคลื่นวิทยุไฟฟ้าหัวใจ
โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ สามารถรักษาได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับว่าเป็นหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดเต้นเร็ว หรือ เต้นช้า และความรุนแรงของโรค

ลดปัจจัยเสี่ยงเลี่ยง “หัวใจเต้นผิดจังหวะ”
โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือชนิดเต้นเร็วและเต้นช้ากว่าปกติ สามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นความผิดปกติของโครงสร้างหัวใจ
911