ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

หุ่นยนต์กายภาพบำบัด…เพิ่มโอกาสความสำเร็จในการฝึกเดิน
การฝึกกายภาพบำบัดด้วยหุ่นยนต์ดีกว่าฝึกด้วยวิธีมาตรฐานแบบเดิมอย่างไร เป็นการฝึกด้วยกิจกรรมแบบเฉพาะเจาะจงและทำซ้ำอย่างต่อเนื่อง (Task-Specific and Highly Repetitive Training) เพื่อกระตุ้นระบบประสาทควบคุมการเดินในไขสันหลังที่เรียกว่า Central Pattern Generator

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

Red cord นวัตกรรมการบำบัดรักษาเพื่อหยุดวงจรความปวดเรื้อรัง
หลายคนคงกำลังประสบปัญหากับอาการปวดเรื้อรัง แม้ว่าจะผ่านการรักษามาอย่างหลากหลายวิธี แต่ก็ไม่ได้ทำให้อาการปวดดีขึ้นจนหายสนิท ในทางกลับกัน อาการปวดกลับค่อย ๆ ลุกลาม ทวีความรุนแรงจนรบกวนการใช้ชีวิตประจำวัน การทำงาน การเล่นกีฬา

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

แต่งสวนยังไงไม่ให้เป็นนิ้วล็อก
การระบาดของโควิด-19 เป็นเรื่องที่วิตกของทุกคน เพราะทำให้ต้องทำงานที่บ้าน หรือบางที่ถึงกับต้องหยุดงาน แต่ก็มีหลายคนพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส ใช้เวลาที่มีมากขึ้น

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

แยกให้ออกว่า นิ้วล็อก VS ข้ออักเสบ
หลายคนคงสงสัยว่าทุกวันนี้เป็นนิ้วล็อกหรือข้ออักเสบกันแน่ สามารถสังเกตและแบ่งแยกอาการได้ดังนี้ อาการของนิ้วล็อก มีอาการเจ็บบริเวณโคนนิ้วมือ มีอาการสะดุดเวลากำหรือเหยียดนิ้วมือ แต่ยังสามารถเหยียดนิ้วได้เอง กำมือแล้วเกิดอาการล็อก

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

กินยารักษานิ้วล็อกได้จริงหรือ ?
หลายคนอาจสงสัยกันว่า "นิ้วล็อกแล้ว กินยาตัวไหนดี” “รับประทานยาตัวใดดี” หรือ “ถ้ากินยาจะหายได้หรือไม่” การรักษาด้วยยากับผู้ที่มีอาการนิ้วล็อก

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

4 กลุ่มที่เสี่ยงเป็นนิ้วล็อกมากที่สุด
เมื่อพูดถึงนิ้วล็อก ก็รู้สึกปวดนิ้วขึ้นมาทันที หลายคนน่าจะรู้ว่าโรคนิ้วล็อกมาจากพฤติกรรมการใช้มือแบบไม่พัก หรือกิจกรรมที่ต้องเกร็งมือบ่อย ๆซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มพฤติกรรม

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

เป็นโรคเบาหวาน เสี่ยงนิ้วล็อก ได้ถึง 4 เท่า !
“นิ้วล็อก” โรคที่เกิดจากการใช้งานนิ้วมือหนักๆ ไม่พักบ้าง หรือเกิดจากการกำ เกร็งมือบ่อย ๆ มักพบได้มากในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้หญิง ที่ทำกิจกรรมหยิบจับสิ่งของอยู่ตลอดเวลาไม่ว่าจะบิดผ้าด้วยมือ หิ้วของหนัก แต่ก็ใช่ว่าจะเกิดจากพฤติกรรมเพียงอย่างเดียว “เพราะพบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานสามาถเป็นนิ้วล็อกมากถึง 4 เท่า แถมร้อยละ 4 นั้นเป็นมากกว่าหนึ่งนิ้ว!” นอกจากคนที่เป็นโรคเบาหวานแล้วยังพบในกลุ่มผู้ที่เป็นโรคไต โรคของต่อมไทรอยด์ และโรคในกลุ่มรูมาตอย อาจจะทำให้เป็นนิ้วล็อก เพราะเกิดจากโรคประจำตัวได้เช่นกัน ดังนั้น หากคิดว่าเป็นนิ้วล็อกในระยะแรกๆ หรือเริ่มมีอาการเจ็บฝ่ามือ เวลาเคลื่อนไหวนิ้วจะมีความรู้สึกสะดุด แนะนำให้พบแพทย์ เพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม หรือบางคนเป็นนิ้วล็อกแล้ว ปัจจุบันมีวิธีการรักษาด้วยวิธี “สะกิดนิ้วล็อก” โดยแพทย์จะใช้เครื่องมือพิเศษ พร้อมด้วยเครื่องอัลตราซาวนด์ โดยฉีดยาชาที่มือแล้วสอดเข็มเข้าไปบริเวณโคนนิ้วที่มีอาการ นิ้วล็อก จากนั้น ใช้ปลายเข็มสะกิดปลอกหุ้มเอ็นนิ้ว ตัดปลอกหุ้มเส้นเอ็นที่รัดเส้นเอ็นให้ขาดออกจากกันเหมือนการผ่าตัดปกติ ซึ่งจะใช้เวลาเพียง 5 นาที และสามารถโดนน้ำได้ตามปกติหลังครบ 24 ชั่วโมง ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู โทร. 02-734-0000 ต่อ 2972, 2973

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

นวัตกรรมจบปัญหา ” อ า ก า ร ป ว ด “
การกายภาพบำบัดยังสามารถนำมาฟื้นฟูให้กับคนที่ทรมานจากอาการปวด ตั้งแต่อาการปวดเมื่อยจากการทำงาน โรคออฟฟิศซินโดรม ปวดเส้นประสาท ปวดจากข้อต่ออักเสบหรือเสื่อม

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

ออฟฟิศซินโดรม น่ากลัวกว่าที่คิด “3 อาการบอกโรคออฟฟิศซินโดรม”
ออฟฟิศซินโดรม หรือกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อ และเยื่อพังผืด (Myofascial pain syndrome) เป็นโรคที่เกิดจากการใช้กล้ามเนื้อชุดเดิมซ้ำๆ หรืออยู่ในอิริยาบถที่ไม่เหมาะสมต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดอาการจากกล้ามเนื้อที่ล้า
919