ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

ภัยเงียบมะเร็งตับ
ผู้ป่วย มะเร็งตับ ส่วนใหญ่ที่เป็นระยะเริ่มแรกมักจะไม่มีอาการผิดปกติชัดเจน ส่วนอาการที่สามารถพบได้และเข้าข่ายน่าสงสัย

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

ลดน้ำหนัก “ผิด” ชีวิตพัง
รูปร่าง และสุขภาพที่ดีเป็นสิ่งสำคัญ หลายคนจึงคิดหาวิธีลดน้ำหนัก เพื่อให้ได้รูปร่างที่สมส่วน แต่รู้หรือไม่ว่าการใช้วิธีลดน้ำหนักแบบผิด ๆ เช่น

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

อ้วนจริง หรือแค่บวมน้ำ ?
เป็นกันไหม ตื่นนอนขึ้นมาแล้วรู้สึก ตัวบวม อึดอัด บวมๆ อืดๆ อาจ จะบวมทั้งตัว หรือบวมแค่หน้า ทำให้ใส่เสื้อผ้าแล้วอึดอัด ไม่สบายตัว ซึ่งอาการเหล่านี้ เกิดขึ้นได้จากการบริโภค " โซเดียม " มากเกินไป

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

‘ คนอ้วน ’ จัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 ง่ายที่สุด
" สำหรับ คนอ้วน " มีความหนาของชั้นไขมันที่หน้าอก จะทำให้กดการทำงานของปอด เมื่อปอดทำงานได้น้อยลง ประสิทธิภาพในการทำงานก็จะน้อยลง ดังนั้นหากติดเชื้อจะทำให้ปอดยิ่งแย่ลง ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ โทร 02 734-0000 ต่อ 2960, 2961

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

ปวดท้องเรื้อรัง อย่ามองข้าม ตรวจหาสาเหตุง่ายๆ ด้วยการส่องกล้อง
การส่องกล้องทางเดินอาหารด้วยกล้องเอนโดสโคป (Endoscope) ที่มีลักษณะเป็นท่อขนาดเล็ก ยืดหยุ่นโค้งงอได้ สามารถนำมาใช้ในการตรวจวินิจฉัย สำหรับผู้ป่วยที่มีอาการบ่งชี้ถึงปัญหาเกี่ยวกับกระเพาะอาหาร หลอดอาหาร หรือลำไส้เล็กส่วนบน ปวดท้องเรื้อรัง

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

อดอาหาร ผอมได้จริงหรือไม่ ?
อดอาหาร หลายคนยอมอดมื้อเย็น #งดแป้งและโปรตีน กินเพียงผักผลไม้ แต่ว่าน้ำหนักก็ไม่ลดสักที บางคนไม่ยอมกินอาหารเช้าเพราะรู้สึกว่าไม่จำเป็น หรือบางคนกินมื้อเช้าเยอะ แต่หลังเที่ยงไม่แตะ มันก็จะมีความเสี่ยง

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

ดูแลตับ ฉบับนักดื่มสายปาร์ตี้
หนุ่มสาวที่รักในการปาร์ตี้ ทุกวันศุกร์คงไม่พลาดนัดปาร์ตี้ รวมตัวกันทุกสัปดาห์ ปาร์ตี้รวมกลุ่มกันทีไรก็ไม่พ้น การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือบุฟเฟ่ต์อาหารหนักต่างๆ จึงอาจส่งผลให้ ตับ ทำงานหนักมากขึ้นเป็นพิเศษในการกำจัดของเสีย

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

ปวดท้องบ่อย ! อาจเกิดจากแผลในกระเพาะ
ปวดท้องบ่อย หากมีอาการปวดท้องเป็นๆ หายๆ หลายคนอาจคิดว่าไม่เป็นไร ไม่นานก็หายไป แต่รู้หรือไม่ว่า อาการปวดท้องแบบนี้ อาจเป็นสาเหตุมาจากแผลในกระเพาะ

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

“ ไส้เลื่อน ” รักษาด้วยนวัตกรรมส่องกล้อง แผลเล็ก เจ็บน้อย
สมัยก่อนการรักษาไส้เลื่อนนั้นอาจจำเป็นจะต้องรักษาแบบเปิดบริเวณหน้าท้อง จากนั้นจะใส่วัสดุตาข่ายเข้าไปเพื่อเสริมความแข็งแรง แต่ปัจจุบันมีนวัตกรรมการผ่าตัดผ่านกล้องด้วยเครื่องมือเฉพาะ โดยมีข้อดีดังนี้
4568