บทความสุขภาพ

Result 937 - of

ศูนย์ต่อมไร้ท่อ เบาหวานและโภชนบำบัด

รับมืออย่างไร? เมื่อต้องทานยา ‘ไทรอยด์’ ต่อเนื่องเป็นเวลานาน
ไทยรอยด์ เมื่อได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์แล้วว่า ต่อมไทรอยด์ของเราทำงานผิดปกติ ไม่ว่าจะเกิดจากภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย หรือต่อมไทรอยด์ทำงานมาก

ศูนย์ต่อมไร้ท่อ เบาหวานและโภชนบำบัด

ผ่าตัดไทรอยด์ไร้แผล ยกระดับคุณภาพชีวิตหลังการรักษา
“ไทรอยด์” เป็นต่อมไร้ท่อที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ ช่วยควบคุมระบบเผาผลาญ อุณหภูมิร่างกาย การเจริญเติบโต และพัฒนาการของสมอง

ศูนย์กระดูกสันหลัง

“เทคโนโลยี” กับ “การผ่าตัดกระดูกสันหลัง” แม่นยำ ฟื้นตัวไว เพิ่มการตัดสินใจในการรักษา
“กระดูก” เป็นโครงสร้างสำคัญของร่างกาย โดยเฉพาะกระดูกสันหลัง ซึ่งเป็นแกนกลางของลำตัว อีกทั้งยังเกี่ยวข้องกับระบบกล้ามเนื้อและระบบประสาท

ศูนย์สมองและระบบประสาท

เท้าชาบอกโรค
เท้าชาบอกโรค สีชมพู ชาหลังเท้าลากยาวไปถึงหน้าแข้ง แต่ไม่มีอาการชาที่มือ อาจเกิดจากการนั่งไขว้ห้าง ขัดสมาธิ พับเพียบ เป็นเวลานาน ซึ่งอาจทำให้เส้นประสาทบริเวณใต้เข่าด้านนอกถูกกดทับจนเลือดเดินติดขัดได้ สีส้ม ชาทั้งเท้า และเลยไปถึงสะโพก อาการนี้ก็ควรต้องใส่ใจมากเป็นพิเศษ เนื่องจากอาจเกิดจากหมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อนทับเส้นประสาท

ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหารและตับ

เคล็ดไม่ลับถนอมตับ ก่อนโรคร้ายมาเยือน
เคล็ดไม่ลับถนอมตับ ตับ เป็นอวัยวะสำคัญ และใหญ่ที่สุดของร่างกายที่มีเพียงหนึ่งเดียว มีหน้าที่แปรสภาพสารต่างๆ รวมถึงยาที่เรารับประทานเพื่อรักษา

ศูนย์หัวใจ

กินเป็น = ชนะโรค
เมื่อเกิดการสะสมของไขมันในหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจตีบตัน เป็นต้นเหตุของภาวะหัวใจวาย ซึ่งเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต โดยการสะสมของไขมันเหล่านี้

ดื่มน้ำเท่าไหร่? ไม่ทำร้ายสุขภาพ
ดื่มน้ำเท่าไหร่? ไม่ทำร้ายสุขภาพ "น้ำ" เป็นองค์ประกอบของร่างกายร้อยละ 60-70 จึงมีความจำเป็นต่อร่างกายอย่างมาก หากร่างกายขาดน้ำไม่กี่

เคยไหม? ปวดข้อมือนาน ๆ อาจเกิดจาก “ โรค รูมาตอยด์ ”
โรคข้ออักเสบ รูมาตอยด์ เป็นโรคที่พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย สามารถพบได้ตั้งแต่ช่วงวัยรุ่นจนถึงสูงอายุ โดยมีปัจจัยหลายอย่างที่เกี่ยวข้องและทำให้เกิดโรค

ศูนย์ศัลยกรรมทั่วไป

7 อาหาร ปรับพฤติกรรมห่างไกลริดสีดวงทวารหนัก
7 อาหาร ริดสีดวงทวารหนัก เป็นโรคที่พบได้บ่อยและเกิดได้จากหลายปัจจัย โดยเฉพาะพฤติกรรมทำร้ายสุขภาพ เช่น ขับถ่ายไม่เป็นเวลา รวมถึงการรับประทานอาหารไม่ครบหลักโภชนาการที่ดี ขาดไฟเบอร์จนก่อให้เกิดอาการท้องผูก ฉะนั้นแล้ว ลองมาดูเมนูอาหารที่เหมาะสม เพื่อให้ห่างไกลจากโรค “ริดสีดวงทวารหนัก”
9451278