ศูนย์กระดูกและข้อ

3 แบบเท้าผิดรูปที่ทุกคนต้องสังเกต
“เท้า” เป็นอวัยวะที่สำคัญที่ต้องทำหน้าที่รับน้ำหนักตัวเรา ในทุก ๆ ก้าว จากการศึกษาพบว่า ขณะยืนน้ำหนักตัวประมาณ 60% กดลงที่ส้นเท้า อีก 40% กดลงที่ส้นเท้าส่วนหน้า ขณะเดินเท้ารับน้ำหนัก 120% ของน้ำหนักตัว และขณะวิ่งเท้ารับน้ำหนักมากถึง 275% ของน้ำหนักตัว

ศูนย์กระดูกและข้อ

กลุ่มเสี่ยงโรคข้อไหล่ติด
ข้อไหล่ติดเกิดจากช่องในข้อไหล่แคบลง เพราะเยื่อหุ้มและแคปซูลในข้อไหล่หนาตัวเป็นพังผืดและตึงขึ้นรอบ ๆ ทำให้ข้อไหล่ขยับได้น้อยลง สังเกตได้ด้วยการยกแขนขึ้นให้สุดโดยที่ใบหน้าและลำคอตั้งตรง หากแขนไม่สามารถแนบหูได้

ศูนย์กระดูกและข้อ

ข้อเท้าเสื่อม รักษาได้ด้วย 3 วิธี
เท้าเป็นอวัยวะที่จะต้องรองรับน้ำหนักตัวอยู่ตลอดเวลา อีกทั้งยังมีบทบาทสำคัญในการช่วยให้ร่างกายสามารถเคลื่อนไหวได้อย่างมีประสิทธิภาพคล่องแคล่ว แต่หากเราใช้ชีวิตแบบผิดๆ หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ กับพฤติกรรมบางอย่าง

ศูนย์กระดูกและข้อ

กระดูกงอกที่ส้นเท้า จำเป็นต้องผ่าตัดออกไหม
หากคุณมีอาการ ปวด-เสียวแปล๊บ ที่เท้าขณะเดิน อาจเสี่ยง “กระดูกงอก” คุณอาจต้องเข้ารับการรักษาก่อนจะมีอาการหนักจนทำให้เกิดอาการเจ็บปวดจนทนเดินไม่ได้ หากใครที่พบว่ามีกระดูกงอกออกมาที่ส้นเท้า อาจเป็นผลพวงจากอาการ

ศูนย์กระดูกและข้อ

5 สาเหตุเกิด “กระดูกงอก”
ลองสังเกตส้นเท้าของคุณ ว่ามีกระดูกปูด นูน งอก หรือมีอาการเจ็บที่ส้นเท้าหรือไม่ หากใครมีอาการก็อาจเกิดจาก กระดูกงอก ก็เป็นได้ "กระดูกงอก" นั้นเกิดขึ้นเมื่อข้อต่อหรือเส้นเอ็นเกิดความเสียหาย ร่างกายจึงพยายามซ่อมแซมส่วนที่เสียหาย

ศูนย์กระดูกและข้อ

ปวดบวมที่ข้อศอก อาการที่ปล่อยไว้นานอาจเรื้อรัง
การบาดเจ็บที่ข้อศอกไม่ได้พบแค่เพียงนักกีฬาเท่านั้น แต่คนทั่วไปที่ใช้งานเหยียดข้อศอกหรือกระดกข้อมือในท่าเดิม ๆ ซ้ำ ๆ รวมถึงการวางข้อมือและข้อศอกไม่เหมาะสมในการทำงาน ก็อาจทำให้เอ็นและกล้ามเนื้อข้อศอกบาดเจ็บได้เช่นกัน หากไม่รีบรักษา

ศูนย์กระดูกและข้อ

หยุด 5 สิ่งทำลายกระดูกเท้าโดยไม่รู้ตัว
การสวมรองเท้าส้นสูงจะทำให้น้ำหนักตัวและแรงกระแทกจากการเดินไปอยู่ที่บริเวณปลายเท้าและนิ้วเท้าแทนด้วยเหตุผลนี้

ศูนย์กระดูกและข้อ

6 ท่าบริหารข้อเท้าให้แข็งแรง
ใครที่เคยประสบปัญหาข้อเท้าพลิกบ่อย ๆ หรือข้อเท้าหลวม ต้องรู้ไว้กับ 6 ท่าบริหารข้อเท้าที่จะช่วยให้กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นรอบข้อเท้าแข็งแรงขึ้น นั่งเก้าอี้แล้วเหยียดขาไปด้านหน้า ใช้ปลายเท้าวาดเป็นตัวเลข 0 – 9 ในอากาศ เพื่อให้ข้อเท้าขยับในทุกทิศทาง ทำซ้ำ 2-3 รอบ บริหารวันละ 2-3 ครั้ง นั่งราบกับพื้นเหยียดขาไปด้านหน้า

ศูนย์กระดูกและข้อ

ถ้ากระดูกหัก…ต้องใส่เฝือกนานแค่ไหน ?
กระดูกหักคือการที่กระดูกได้รับบาดเจ็บจนแตก หัก ไม่สามารถรับน้ำหนักหรือใช้งานตามปกติได้ มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุไม่ว่าจะเป็นอุบัติเหตุจากการขับขี่ ตกจากที่สูง รวมทั้งจากการเล่นกีฬา ส่วนมากจะพบผู้ป่วยกระดูกหักได้บ่อยบริเวณข้อมือและข้อเท้า
1864