ปลอดภัย ไร้กังวล เมื่อจำเป็นต้องผ่าตัดหลัง
มีคนไข้หลายคนที่พอรู้ตัวว่าต้อง # ผ่าตัดกระดูกสันหลัง ก็เกิดความเครียดและกลัวการรักษา แม้ว่าการผ่าตัดกระดูกสันหลังเป็นการผ่าตัดใหญ่ และบริเวณกระดูกสันหลังนั้นเต็มไปด้วยเส้นประสาทที่สำคัญมากมาย จึงทำให้หลายคนกังวลว่าอาจเป็นอัมพฤกษ์อัมพาตจากการผ่าตัดได้ ปัจจุบันมีวิวัฒนาการที่ก้าวหน้าและการนำเทคโนโลยี

ปวดหลังบ่อย ปล่อยไว้ “เสื่อม”
ปวดหลัง เรื้อรัง ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะกับผู้สูงวัยเพียงเท่านั้น เพราะพบได้มากขึ้นในทุกช่วงอายุ โดยพบว่ากลุ่มช่วงอายุที่มีอัตราการเกิดภาวะหมอนรองกระดูกเสื่อมสูง ได้แก่กลุ่มคนอายุน้อยที่มีการทำกิจกรรมหนักๆ หรือคนสูงอายุที่ร่างกายมีความเสื่อมโทรมตามวัย

4 อาการ ปวดหลัง ที่อาจไม่ใช่แค่ “ ออฟฟิศซินโดรม ”
หนุ่มสาวชาวออฟฟิศคงคุ้นหูกับ “ ออฟฟิศซินโดรม ” กันเป็นอย่างดี และคงจะรู้กันดีด้วยว่าอาการปวดคอ ปวดหลัง ปวดไหล่ ที่เกิดจากการนั่งหน้าคอมพิวเตอร์ทั้งวันเป็นจุดเริ่มต้นของโรคนี้ แต่ถึงจะรู้สาเหตุหลายคนก็ยังเลือกที่จะปล่อยไว้ คิดว่ากินยาเดี๋ยวก็ดีขึ้น ไปนวดเดี๋ยวก็หาย แต่จริงๆ แล้วการปวดเรื้อรัง

หมอนรองกระดูก ทับเส้นประสาท โรคยอดฮิตของคนปวดหลัง
นั่งทำงานหน้าคอมฯ นานต่อเนื่องเกิน 2 ชั่วโมง อาจทำให้เกิดอาการตึงหลัง ปวดหลัง ขาชา ซึ่งหลายคนมักจะเลือกทนจนอาการรุนแรงและนำไปสู่โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท นายแพทย์ภัทร โฆสานันท์ ศัลยศาสตร์กระดูกและข้อ – โรคกระดูกสันหลัง โรงพยาบาลเวชธานี

บอกลา ออฟฟิศซินโดรม ด้วยการปรับท่านั่ง
เลือกโต๊ะคอมพิวเตอร์ที่ระดับความสูงพอเหมาะกับความสูงของตัวเอง มีลิ้นชักสำหรับวางแป้นพิมพ์ สามารถกดแป้นพิมพ์ได้อย่างถนัด ปรับแป้นพิมพ์ให้อยู่ตรงกลางของผู้ใช้งาน ข้อศอกจะอยู่ในตำแหน่งที่เปิดออกเล็กน้อยประมาณ 100 - 110 องศา ออฟฟิศซินโดรม

” ปวดหลัง ” เพราะความอ้วน
ทราบกันดีว่า # โรคอ้วน ก่อให้เกิดโรคต่างๆ มากมาย ทั้งเบาหวาน หัวใจ ไขมันในหลอดเลือด แต่โรคอ้วนยังก่อให้เกิดอาการ ปวดหลัง ได้อีกด้วย เพราะร่างกายต้องรับน้ำหนักมากทำให้หมอนรองกระดูกเสื่อมเร็วขึ้น ซึ่งปกติแล้วกระดูกสันหลังเป็นแกนกลางของร่างกายที่ต้องคอยแบกรับน้ำหนักตัวในทุกๆอิริยาบถ

Trigger Point อาการปวดหลังของ “ ออฟฟิศซินโดรม ”
คนทำงานออฟฟิศ นอกจากจะต้องทนต่อแรงกดดันแล้ว หลายคนยังต้องใช้เวลากับงาน ซึ่งต้องอยู่อิริยาบทเดิม ๆ นานเกิน 8 ชั่วโมง และหากนั่งผิดท่าด้วยแล้ว จะทำให้เสี่ยงกับโรค “ ออฟฟิศซินโดรม ” มากยิ่งขึ้นไปอีก

ปวดหลัง แบบไหนเสี่ยงเป็นโรคอะไร ?
สำหรับคนที่มีอาการ ปวดหลัง ควรหมั่นสังเกตตัวเองว่า เวลาปวดนั้นสึกปวดแบบไหน เพราะลักษณะอาการปวดหลังนั้นสามารถ เป็นตัวช่วยในการวินิจฉัยโรคได้ ดังนี้

3 ท่านอนบรรเทาอาการ ปวดหลัง
นอนตะแคงข้างก่ายหมอน นอนตะแคงข้างที่ถนัดหนุนหมอนที่ศีรษะตามปกติงอเข่าทั้งสองข้างและวางหมอนหนุนไว้ระหว่างขาทั้งสองข้าง
1832