กระดูกสันหลังคด “ปล่อยไว้ได้ไหม”
บางคนคิดว่ากระดูกสันหลังคด เป็นแค่ผิดลักษณะ เพียงแค่เสียบุคลิกภาพ ไม่ต้องพบแพทย์ก็ได้ ไม่ได้ส่งผลกระทบอะไร แสดงว่ายังไม่รู้จักกระดูกสันหลังคดเพียงพอ สำหรับกระดูกสันหลังคด คือ ภาวะที่มีการบิดหมุนของกระดูกสันหลัง ทำให้กระดูกสันหลังไม่อยู่ในแนวตรง หรือบิดเป็นตัว S หรือ C ซึ่งพบได้ตั้งแต่เด็กไปจนถึงผู้ใหญ่

2 ตำแหน่งอาการหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
ร่างกาย ก็เหมือนกับอุปกรณ์ไฟฟ้า เมื่อใช้งานนาน ๆ ก็ย่อมเสื่อมสภาพตามกาลเวลา หมอนรองกระดูกก็เหมือนกัน ยิ่งผ่านการใช้งานหนัก ๆ ความเสื่อมก็ยิ่งมาเร็ว ประกอบกับพฤติกรรมเสี่ยง อย่างเช่น ปล่อยให้มีน้ำหนักตัวที่มากเกินไป , ก้ม ๆ เงยๆ ยกของหนักบ่อย ๆ , ขับรถติดต่อกันหลายชั่วโมง หรือ นั่งทำงานหน้าคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ให้ระวังไว้เลยว่าอาจเสี่ยง โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทกันได้ทุกคน ! แล้วอาการเป็นยังไงล่ะ มาดูกัน

หมอนรองกระดูกสันหลังปลิ้น ใคร ๆ ก็เป็นได้
ปวดหลังร้าวลงขาหรือร้าวลงไปถึงปลายเท้า หรืออาจมีอาการชาและอ่อนแรงร่วมด้วย อาจเป็นอาการบ่งชี้ของโรคหมอนรองกระดูกสันหลังกดทับเส้นประสาท

หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โรคที่มาพร้อมกับอาการปวด
ปวดคอ ปวดหัว ปวดหลัง และอีกสารพัดปวด ที่เกิดจากการก้มหน้าเล่นสมาร์ทโฟน นั่งทำงานต่อเนื่องยาวนาน หรือยกของหนัก สัญญาณเหล่านี้ไม่ควรมองข้าม

นั่งท่าเดิมนาน ๆ สาเหตุหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
นั่งทำงานหน้าคอมฯ นานต่อเนื่องเกิน 2 ชั่วโมง อาจทำให้เกิดอาการตึงหลัง ปวดหลัง ขาชา ซึ่งหลายคนมักจะเลือกทนจนอาการรุนแรงและนำไปสู่โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท

ปวดหลังเพราะนั่งทับกระเป๋าสตางค์ ?
การนั่งทับกระเป๋าสตางค์นอกจากจะเสียบุคลิกภาพแล้ว ยังทำให้สุขภาพกระดูกสันหลังพังอีกด้วย

“ปวดหลัง” แต่ทำไมร้าวลงขา
ปวดหลังอาการยอดฮิตของกลุ่มคนวัยทำงาน แต่หากมีอาการปวดร้าวลงขาร่วมด้วย อาจเป็นสัญญาณเตือนถึงโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ซึ่งหากรักษาตั้งแต่เนิ่น ๆ สามารถหายเป็นปกติได้ แต่หากปล่อยทิ้งไว้นานอาการอาจรุนแรงมากขึ้น จนต้องรักษาด้วยการผ่าตัด

6 อาการปวดหลัง แบบไหนเสี่ยงโรค
สำหรับคนที่มีอาการปวดหลัง ควรหมั่นสังเกตตัวเองว่า เวลาปวดนั้นรู้สึกปวดแบบใด เพราะลักษณะอาการปวดหลังนั้นสามารถ เป็นตัวช่วยในการวินิจฉัยโรคได้ ดังนี้

ก้มเล่นมือถือ หนึ่งในพฤติกรรมเสี่ยงกระดูกคอเสื่อม
อาการปวดคอหลายคนอาจคิดว่าธรรมดาทั่วไป เป็นแล้วเดี๋ยวก็หาย แต่หากมีอาการร่วมด้วยแล้ว เช่น #ปวดบริเวณคอร้าวลงไปถึงแขน , #คอแข็ง เคลื่อนไหวผิดปกติ อาการเหล่านี้อาจเป็นสัญญาณเตือนของโรคกระดูกคอเสื่อม ซึ่งจะเริ่มมีอาการรุนแรงขึ้นจนอาจส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน โดยมีปัจจัยกระตุ้น
936