อายุน้อย กระดูกก็พรุนได้
หลายคนชอบคิดว่า กระดูกพรุน เป็นโรคที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุเท่านั้น แต่ในความเป็นจริงแล้วมวลกระดูกของคนเราจะเริ่มลดลงอย่างช้า ๆ ตั้งแต่ช่วงอายุ 30 – 40 ปี และจะเริ่มลดลงเรื่อย ๆ ตามวัยที่มากขึ้น

ตรวจก่อน พรุน ?
โดยการตรวจด้วยเครื่องมือรังสีชนิดพิเศษ เป็นวิธีการที่ปลอดภัย ไม่เจ็บปวด ใช้ตรวจกระดูกได้ทุกส่วน แต่ที่นิยมและใช้เป็นมาตรฐานเปรียบเทียบตามที่องค์การอนามัยโลกกำหนด คือ ที่กระดูกสันหลังช่วงเอว และกระดูกสะโพก ซึ่งจะได้ค่าเป็นตัวเลขแสดงความเบี่ยงเบนจากค่ามาตรฐาน

อายุน้อย กระดูกก็พรุนได้
หลายคนชอบคิดว่ากระดูกพรุนเป็นโรคที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุเท่านั้น แต่ในความเป็นจริงแล้วมวลกระดูกของคนเราจะเริ่มลดลงอย่างช้า ๆ ตั้งแต่ช่วงอายุ 30 – 40 ปี และจะเริ่มลดลงเรื่อย ๆ ตามวัยที่มากขึ้น

รู้หรือไม่ ” วิตามินดี ” ช่วยป้องกันโรคกระดูกพรุน
วิตามินดี จะมีหน้าที่หลักคือ ช่วยดูดซึมแคลเซียม ช่วยให้กระดูกแข็งแรง  สร้างสมดุลของระดับแคลเซียมในเลือด และกระดูก นอกจากนี้ ยังป้องกันโรคกระดูกบาง

ภัยเงียบ “กระดูกพรุน” อันตรายกว่าที่คิด
กระดูกพรุน กลายเป็นปัญหาที่นับวันจะเพิ่มมากขึ้น จากจำนวนประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น นับเป็นภัยเงียบอย่างแท้จริง เนื่องจากผู้ป่วยไม่รู้ว่าตัวเองมีภาวะกระดูกพรุน เพราะไม่พบว่ามีอาการใดๆ จนกระทั่งล้มแล้วมีกระดูกหัก จึงรู้ว่าเป็นโรคกระดูกพรุน

แพทย์แนะวิธีดูแลผู้ป่วยสูงอายุอย่างไรไม่ให้กระดูกหัก
ปัจจุบัน ยังพบได้บ่อยๆ ในผู้สูงอายุที่มักเกิดอาการหกล้ม ซึ่งจะส่งผลให้กระดูกหักได้ ดังนั้น ลูกๆ หลานๆ หรือคนใกล้ตัวควรใส่ใจดูแลอย่างใกล้ชิด มิฉะนั้นแล้วอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา

โรคกระดูกพรุนภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม
 โรคกระดูกพรุน คือ ภาวะที่กระดูกสูญเสียเนื้อกระดูก และโครงสร้างของกระดูกผิดไป ทำให้กระดูกมีความเปราะบาง เกิดการหักง่าย โดยเฉพาะกระดูกข้อสะโพก

โรคยอดฮิตของคนทำงานออฟฟิศ
สำหรับนักบริหารรุ่นใหญ่จนถึงเด็กรุ่นใหม่ ที่ใช้เวลานั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน หรือวุ่นวายกับเอกสารที่ต้องพิมพ์จนแทบจะไม่ได้ลุกเดินออกไปไหน
88