3 วิธีสังเกต “กระดูกสะโพกหัก”
กระดูกสะโพกหัก สามารถเกิดขึ้นได้ง่ายในผู้สูงอายุ ทั้งจากความเสื่อมของกระดูก ภาวะโรคกระดูกพรุน รวมถึงการสูญเสียการทรงตัวจากสาเหตุอื่นๆ ซึ่งกระดูกสะโพกหักนี้ถือเป็นภาวะเร่งด่วนที่ต้องรีบเข้ารับการรักษาเพื่อลดโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจนนำไปสู่การเสียชีวิต

4 วิธีป้องกัน ไม่ให้ผู้สูงอายุล้มง่าย
ผู้สูงอายุ “ล้ม” ถือว่าเป็นเรื่องใหญ่ เพราะอาจเสี่ยงกระดูกสะโพกแตก หัก หรือข้อสะโพกหลุด ทำให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวได้น้อยลงหรือไม่สามารถเคลื่อนไหวได้เลย และถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกวิธีหรือได้รับการรักษาล่าช้า อาจเสี่ยงกลายเป็นผู้ป่วยติดเตียงหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ทำให้เสียชีวิตได้

อายุน้อยกว่า 35 ปี ก็เสี่ยงเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมได้ หากมีภาวะข้อสะโพกขาดเลือด
กระดูกข้อสะโพกขาดเลือด (Osteonecrosis of Hip) พบได้ในผู้ป่วยอายุ 30-50 ปี โดยมีโอกาสพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง

ปวดสะโพกแบบไหน สัญญาณอันตรายของข้อสะโพกเสื่อม
โรคข้อสะโพกเสื่อมไม่ได้เกิดขึ้นแค่ในผู้สูงอายุ บางคนอาจเป็นมาตั้งแต่กำเนิดหรือมีพัฒนาการที่ผิดปกติ จึงทำให้ข้อสะโพกเสื่อมเร็วกว่าคนทั่วไป ซึ่งพบได้ตั้งแต่อายุ 40 ปี เช่น ภาวะเบ้าสะโพกชันผิดปกติ ผู้ที่ข้อสะโพกติดเชื้อหรือมีอุบัติเหตุบาดเจ็บข้อสะโพกตั้งแต่เด็ก ภาวะหัวข้อสะโพกขาดเลือด เป็นต้น
44