ปลดนิ้วล็อกง่าย ๆ ด้วย 5 วิธี
อาการนิ้วล็อกส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่ใช้มือทำต่อเนื่องเป็นเวลานานเช่น การถือหรือแบกของหนักเป็นเวลานาน ใช้อุปกรณ์ที่ต้องออกแรงกดต่อเนื่อง หรือแม้กระทั่งการใช้งานที่ไม่ได้หนักแต่ทำซ้ำๆ หรือนานๆเช่นการใช้โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์มากเกินไป ก็อาจทำให้เกิดอาการนิ้วล็อคได้

2 Step คลายนิ้วล็อกด้วยตัวเองแบบง่ายๆ
โดยอาการในระยะแรกสามารถรักษาได้ด้วยการกินยา ทำกายภาพบำบัด ฉีดยาสเตียรอยด์ ซึ่งจะได้ผลดีในระยะ 4 – 6 เดือนแรก ทั้งนี้ ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมแบบเดิม ๆ และพักการใช้มือให้เพียงพอด้วย

ฉีดรักษานิ้วล็อก หายได้จริงหรือ ?
รักษานิ้วล็อก หากไม่อยากผ่าตัด นั่นก็คือ การฉีดยา เพื่อรักษานิ้วล็อก ซึ่งการฉีดยาสเตียรอยด์เพื่อรักษานิ้วล็อกนั้น จะช่วยลดการอักเสบของเส้นเอ็น

เป็นนิ้วล็อก ยิ่งบีบบอล นิ้วยิ่งล็อก
คนเป็นนิ้วล็อก “ไม่ควรบีบ” เพราะจะยิ่งทำให้เกิดการอักเสบได้มากขึ้น และนิ้วก็จะล็อกมากขึ้นไปอีก การรักษานิ้วล็อกในเบื้องต้นที่ช่วยได้จริง ๆ

นิ้วล็อกไม่ได้เกิดจากกระดูก แต่เกิดจากปลอกหุ้มเอ็น
อย่าพึ่งวิตกกันไปว่านิ้วล็อกจะเกิดจากกระดูกข้อนิ้วเสื่อมหรือเปล่า เพราะตามจริงแล้วนิ้วล็อก ที่ล็อก ๆ กันเนี่ยไม่ได้เกิดจากกระดูกโดยตรง แต่เป็นที่ "ปลอกหุ้มเส้นเอ็น"

4 ระดับนิ้วล็อก รักษาได้ทุกระดับ
โรคนิ้วล็อกเกิดจากปลอกหุ้มเอ็นกล้ามเนื้อบริเวณนิ้วอักเสบและหนาขึ้น ทำให้เอ็นที่อยู่ภายในไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ตามปกติ มักเกิดกับนิ้วโป้ง นิ้วกลาง และนิ้วนาง หรืออาจเป็นพร้อมกันหลายนิ้ว หรือนิ้วมือทั้ง 2 ข้าง เป็นพร้อมกัน อาการระดับที่ 1 และ ระดับที่ 2 มีอาการเจ็บบริเวณโคนนิ้วมือ , มีอาการสะดุดเวลากำหรือเหยียดนิ้วมือ

ปัญหาสุขภาพ อาจจะทำให้เสี่ยงนิ้วล็อก
โรคนิ้วล็อก สามารถป้องกันได้โดยเลี่ยงการทำกิจกรรมที่ออกแรงทำให้กล้ามเนื้อนิ้วหดหรือ งออยู่นาน ๆ ใช้งานมือหนัก ๆ แต่รู้หรือไม่ ว่าการเจ็บป่วยด้วยโรคอื่นๆ สามารถกระตุ้นให้เกิดโรคนิ้วล็อกมากกว่าคนปกติอีกด้วย มาดูกันว่ามีโรคอะไรบ้าง สำหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคดังต่อไปนี้อยู่

แต่งสวนยังไงไม่ให้เป็นนิ้วล็อก
การระบาดของโควิด-19 เป็นเรื่องที่วิตกของทุกคน เพราะทำให้ต้องทำงานที่บ้าน หรือบางที่ถึงกับต้องหยุดงาน แต่ก็มีหลายคนพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส ใช้เวลาที่มีมากขึ้น

แยกให้ออกว่า นิ้วล็อก VS ข้ออักเสบ
หลายคนคงสงสัยว่าทุกวันนี้เป็นนิ้วล็อกหรือข้ออักเสบกันแน่ สามารถสังเกตและแบ่งแยกอาการได้ดังนี้ อาการของนิ้วล็อก มีอาการเจ็บบริเวณโคนนิ้วมือ มีอาการสะดุดเวลากำหรือเหยียดนิ้วมือ แต่ยังสามารถเหยียดนิ้วได้เอง กำมือแล้วเกิดอาการล็อก
925