73.จี้หัวใจ - โรงพยาบาลเวชธานี
Vejthani
Hero image

นพ.ปริวัตร เพ็งแก้ว

จบทุกปัญหาหัวใจเต้นผิดจังหวะ ด้วยการ จี้ไฟฟ้าหัวใจ

โดย แพทย์เฉพาะทางด้านหัวใจ และ หัวใจเต้นผิดจังหวะ

นพ.ปริวัตร เพ็งแก้ว

แพทย์เฉพาะทางด้านหัวใจและหัวใจเต้นผิดจังหวะ


รักษาโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ มากกว่า 15 ปี
รักษาผู้ป่วยโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ มากกว่า 10,000 ราย
รักษาโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะด้วยการจี้ไฟฟ้าหัวใจ มากกว่า 400 ราย / ปี

โรงพยาบาลเวชธานีพร้อมให้การรักษาโรคหัวใจตลอด 24 ชั่วโมง

 

ปรึกษาแพทย์ได้เลย คลิก!!!

แบ่งปันประสบการณ์ การจี้ไฟฟ้าหัวใจ

กับ นพ. ปริวัตร เพ็งแก้ว

 

 

หัวใจเต้นช้าก็รักษาได้ ผ่าตัดใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ ไม่เจ็บ พักฟื้น 1 วัน

ช่วง 1 เดือนก่อนที่จะเข้ามารับการรักษา มีอาการอ่อนเพลีย และตอนนั้นกำลังวัดความดันเพื่อที่จะฉีดวัคซีนผลปรกฎว่า ชีพจรของเราเต้นช้ามาก แพทย์จึงแนะนำว่ายังไม่ควรให้ฉีด และให้พบหมอทางด้านหัวใจ เราก็ไปตรวจสุขภาพหัวใจเบื้องต้น ซึ่งทุกที่ที่ไปตรวจก็แนะนำว่าให้ใส่ ‘เครื่องกระตุ้นหัวใจ’ เพราะอาการแบบนี้มีโอกาสทำให้หัวใจเราหยุดเต้นได้ ก็เลยรีบหาข้อมูลใน Internet จนมาเจอกับ รพ.เวชธานี ที่ตัดสินใจเข้ามารักษากับที่นี่ก็เพราะว่า เขามีทางเลือกในการรักษาที่ค่อนข้างเยอะ ก็เลยนัดหมายเพื่อเข้ามาพบคุณหมอปริวัตร เพ็งแก้ว คุณหมอน่ารักและใจดีมาก ๆ ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วน ก่อนผ่าตัดก็ตื่นเต้นค่อนข้างมาก แต่พอหลังจากการผ่าตัดก็คือสบายใจมาก ไม่ค่อยเจ็บแผล พักฟื้นที่ รพ. เพียง 1 วัน ก็กลับบ้านได้เลย

 

 

หัวใจเต้นผิดจังหวะหายทันที หลังจี้ไฟฟ้าหัวใจกับ นพ.ปริวัตร

อาการเริ่มแรกรักษาไทรอยด์เป็นพิษอยู่ แล้วมันก็พัฒนามาเป็นอาการใจสั่น เป็นช่วง ๆ บางครั้งมันก็ทำให้เราเหนื่อยมาก นอนไม่ได้ เป็นมาหลายเดือน เราก็หาข้อมูลว่ามีโรงพยาบาลไหนที่มีแพทย์ชำนาญในเรื่องนี้ จนมาเจอโรงพยาบาลเวชธานี เลยตัดสินใจเข้ามา หลังจากทำการจี้ไฟฟ้าหัวใจ อาการที่เคยเป็นก็ดีขึ้น ประทับทีมแพทย์และทีมงานโรงพยาบาลเวชธานีมาก ๆ ทำนัด ดูแลดีจนกลับบ้านอย่างดีเลยครับ

 

 

บอกลาโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ ด้วยการ“จี้ไฟฟ้าหัวใจ”

ยิ้มได้แล้วครับจี้ไฟฟ้าหัวใจ หยุดปัญหาหัวใจเต้นผิดจังหวะ พักฟื้นโรงพยาบาลเพียง 1 คืนการจี้ไฟฟ้าหัวใจผลตอบรับดีมาก ผมต้องทานยาอีก 3 เดือน เพราะเป็นเคสที่ค่อนข้างยากแล้วก็จะหายครับผมรับรู้ทุกขั้นตอนการทำ ใช้เวลาเพียง 1 ชั่วโมง จบปัญญาหาโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ คุณหมอปริวัตร เพ็งแก้ว เก่งมาก ๆ ครับ ผมคุยกับคุณหมอจนจบการจี้ ไม่มีหลับเลย การจี้หมอดูจากกราฟหัวใจในจอเท่านั้น ผมนึกว่าจะมีกล้องส่อง ไม่มี ใช้ความชำนาญและประสบการณ์ของคุณหมอโดยแท้จริง

 

 

ใช้ชีวิตในวัยเกษียณได้อย่างมั่นใจ หลังจี้ไฟฟ้าหัวใจกับ นพ.ปริวัตร

คุณหมอบอกว่ากระแสไฟฟ้าในหัวใจผิดปกติมานานแล้วควรจะจี้ซะที เลยถามคุณหมอว่าถ้าไม่ทำแล้วจะเป็นยังไง คุณหมอบอกว่าปล่อยอาจเสี่ยงไหลตาย ฉันจึงตัดสินใจรักษา แต่เป็นคนกลัวเข็มมากและวิตกจริตหลายวัน…พอมาทำจริงๆก็ไม่ได้เจ็บมากมาย และหลังจากจี้หัวใจแล้วอาการใจสั่นก็ไม่มีอีกเลยต้องขอขอบคุณ นพ. อัมพล อิทธิฤทธานนท์ที่ดูแลมาตลอด 16 ปี และ นพ. ปริวัตร เพ็งแก้ว รวมทั้งพยาบาลทุกท่านที่ดูแลอย่างดีตอนที่อยู่โรงพยาบาลนะคะ

บอกลาโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ ด้วยการ“จี้ไฟฟ้าหัวใจ”

ยิ้มได้แล้วครับจี้ไฟฟ้าหัวใจ หยุดปัญหาหัวใจเต้นผิดจังหวะ พักฟื้นโรงพยาบาลเพียง 1 คืนการจี้ไฟฟ้าหัวใจผลตอบรับดีมาก ผมต้องทานยาอีก 3 เดือน เพราะเป็นเคสที่ค่อนข้างยากแล้วก็จะหายครับผมรับรู้ทุกขั้นตอนการทำ ใช้เวลาเพียง 1 ชั่วโมง จบปัญญาหาโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ คุณหมอปริวัตร เพ็งแก้ว เก่งมาก ๆ ครับ ผมคุยกับคุณหมอจนจบการจี้ ไม่มีหลับเลย การจี้หมอดูจากกราฟหัวใจในจอเท่านั้น ผมนึกว่าจะมีกล้องส่อง ไม่มี ใช้ความชำนาญและประสบการณ์ของคุณหมอโดยแท้จริง

อ่านต่อ…

จบปัญหาหัวใจเต้นผิดจังหวะด้วยการจี้ไฟฟ้าหัวใจ กับ นพ.ปริวัตร เพ็งแก้ว

วันนี้อ้อกับคุณแม่ได้มาทำการ จี้ไฟฟ้าหัวใจ กับ คุณหมอปริวัตร เพ็งแก้ว เนื่องจากเป็นหัวใจเต้นผิดจังหวะแบบเร็วหรือSVTที่ #โรงพยาบาลเวชธานี ตอนแรกกลัวๆกล้าๆ แต่พอได้คุยกับคุณหมอแล้วได้เจอพยาบาลและเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลเวชธานี รู้สึกอุ่นใจและประทับใจมากค่ะ คุณหมอท่านเก่งจริงๆค่ะ ตอนนี้ไม่มีอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะแล้วค่ะ

อ่านต่อ…

รีโนเวทหัวใจด้วยการจี้ไฟฟ้าหัวใจหมดปัญหาอาการหัวใจเต้นเร็ว-เต้นแรง

อยู่ดีๆ มีอาการหัวใจเต้นเร็ว..เต้นแรงมาก พยายามนั่งพัก ก้อไม่หาย วัดอัตราการเต้นของหัวใจก้อสูงถึง 150+ เป็นครั้งแรกตกใจมาก หาข้อมูลทางรักษา จี้ไฟฟ้าหัวใจ นานมาก จนมั่นใจหมอที่เชี่ยวชาญด้านนี้ คือ คุณหมอปริวัตรเพ็งแก้ว หลังจากได้หมอก้อคือขั้นตอนการเลือกโรงพยาบาล สอบถามราคาข้อมูลมาหลายที่ ผลสุดท้ายตามหา รพ.เวชธานีจนเจอ

อ่านต่อ…

โล่งอกโล่งใจ เมื่อจี้ไฟฟ้าหัวใจแก้ปัญหาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ

หัวใจเต้นผิดจังหวะ จังหวะหัวใจผิดเพี้ยน ใช้คลื่นเสียงจี้หาย ไม่ต้องทานยา หัวใจเต้นผิดจังหวะ สม่ำเสมอ ถือได้ว่าเป็นโรคหัวใจชนิดหนึ่ง อาจส่งผลให้ใจสั่น วูบ หรือรู้สึกหวิวๆ กระทบต่อการชีวิตประจำวัน ดีไม่ดีอาจหมดสติ เราเรียกว่า “ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ”

อ่านต่อ…

เหมือนได้ชีวิตเกิดใหม่อีกครั้งหลังจี้ไฟฟ้าหัวใจ

เราโชคไม่ดีที่เป็นโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิด SVTหากเกิดอาการขึ้นหัวใจจะเต้นประมาณ 180-195ครั้ง/นาที จากคนปกติเฉลี่ย 60-100 ครั้ง/นาที ซึ่งมันคิดจะเป็นก็เป็นอย่างฉับพลันโดยไม่มีอาการเตือน คุณหมอบอกว่าโรคนี้กินยาก็ไม่หาย การรักษาที่หายขาดคือการจี้ไฟฟ้าหัวใจเท่านั้น และเราก็เป็นอยู่จุดที่อันตรายมาก อยู่ใกล้ศูนย์ควบคุมหัวใจซึ่งพลาดไม่ได้เลย คุณหมอว่า “ผมต้องพยายามทำให้สำเร็จผมสงสารคนไข้ผมจะรักษาให้หาย” หลังจากจี้เสร็จคุณหมอบอกว่า #ยาไม่ต้องกินแล้วหายแล้วครับ มันเหมือนได้ชีวิตเกิดใหม่

อ่านต่อ…

บทความสุขภาพเกี่ยวกับ การจี้ไฟฟ้าหัวใจ

กับ นพ. ปริวัตร เพ็งแก้ว

จบปัญหา หัวใจเต้นผิดจังหวะ ด้วยการสวนและจี้ด้วยคลื่นวิทยุไฟฟ้าหัวใจ

การรักษาหัวใจเต้นผิดจังหวะ หากเป็นภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดเร็ว แพทย์อาจพิจารณาให้ยาควบคุมอาการ ซึ่งต้องรับประทานไปตลอดชีวิต แต่ในปัจจุบันมีเทคโนโลยีรักษาด้วยการสวนและจี้ไฟฟ้าหัวใจ (EP study with Radiofrequency ablation) โดยการจี้ด้วยคลื่นวิทยุไฟฟ้าหัวใจตรงจุดที่มีปัญหา ซึ่งมีโอกาสหายขาดได้ถึงร้อยละ 95 – 98 โดยไม่ต้องรับประทานยาไปตลอดชีวิต ส่วนผู้ป่วยที่หัวใจห้องล่างเต้นผิดจังหวะชนิด VT และ Fibrillation บางกลุ่ม ในรายที่จี้ไฟฟ้าไม่ได้จะให้การรักษาโดยการฝังเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจ (AICD) สำหรับภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดช้าจะให้การรักษาด้วยการใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ (Pacemaker)

อ่านต่อ…

รู้ทันโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ มีอาการอะไรบ้าง

โดยปกติแล้ว อัตราการเต้นของหัวใจจะอยู่ที่ประมาณ 50-100 ครั้งต่อนาที หากมีอัตราการเต้นช้าหรือเร็วกว่านี้ก็จะเข้าข่ายภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ

อ่านต่อ…

COVID-19 ไวรัสที่นำไปสู่โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ

โควิด – 19 ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยโรคหัวใจเป็นอย่างมาก เพราะจะทำให้อาการที่เป็นอยู่รุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้ง่าย ในขณะที่คนทั่วไปที่ไม่มีโรคหัวใจก็อาจได้รับผลกระทบต่อกล้ามเนื้อหัวใจและเยื่อหุ้มหัวใจได้เช่นกัน ทำให้เมื่อหายจากโรคโควิดแล้วก็ยังมีอาการของหัวใจหลงเหลืออยู่ โดยเฉพาะอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะที่มักพบในผู้ป่วยลองโควิดเป็นจำนวนมาก

อ่านต่อ…

5 อาการใจสั่น ถ้าเป็นแล้วอาจผิดปกติ

อาการใจสั่น ใจหวิว สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน เมื่อตื่นเต้น เครียด หรือ กังวล หรือดื่มเครื่องดื่ม การทานยาบางชนิดก็ทำให้มีอาการได้เช่นกัน แต่ก็ไม่ควรวางใจอยู่ดี เพราะถ้าหากเกิดจากปัญหาสุขภาพก็อาจทำให้เสี่ยงเสียชีวิตได้เลยทีเดียว

อ่านต่อ…

หัวใจกำลังบอกอะไรคุณหรือเปล่า

ความผิดปกติของหัวใจอาจเป็นสัญญาณบอก “โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ” อยู่ก็เป็นได้ ลองเช็กหัวใจกันหน่อยว่ามีอาการเหล่านี้หรือเปล่า

อ่านต่อ…

Check list 5 อาการ สัญญาณบอกโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ

ใจสั่น หัวใจเต้นแรง หายใจเหนื่อย เจ็บแน่นหน้าอก หน้ามืด ตาลาย เป็นลมหมดสติ เป็นอาการเบื้องต้นของโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ แต่ผู้ป่วยหลายรายมักไม่รีบมาพบแพทย์ แล้วปล่อยทิ้งไว้จนรบกวนการใช้ชีวิตและมีอาการมากขึ้น เช่น เหนื่อยง่ายจนหัวใจล้มเหลว หมดสติ ลิ่มเลือดไปอุดตันสมองกลายเป็นอัมพาต ไปจนถึงเสียชีวิต

อ่านต่อ…

ลดปัจจัยเสี่ยงเลี่ยง “หัวใจเต้นผิดจังหวะ”

โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือชนิดเต้นเร็วและเต้นช้ากว่าปกติ สามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นความผิดปกติของโครงสร้างหัวใจ เช่น โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด กล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ ลิ้นหัวใจรั่ว ,ความผิดปกติของร่างกายที่ส่งผลต่อการทำงานของหัวใจ เช่น เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง, ความเครียด รวมถึงการรับประทานยาหรือได้รับสารบางชนิด เช่น ยาแอมเฟตามีน กาเฟอีน เป็นต้น

อ่านต่อ…

รักษาโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะด้วยคลื่นวิทยุไฟฟ้าหัวใจ

โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะสามารถรักษาได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดและความรุนแรงของโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะที่ผู้ป่วยกำลังเผชิญอยู่ ซึ่งหนึ่งในวิธีรักษาที่ได้ผลดีคือการสวนและจี้ไฟฟ้าหัวใจ (Radio Frequency Ablation) โดยการใช้คลื่นวิทยุความถี่สูงสวนเข้าไปทางหลอดเลือดดำบริเวณขาหนีบและจี้ที่บริเวณต้นกำเนิดของอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะที่หัวใจ

อ่านต่อ…

เหนื่อยง่าย ใจสั่น วูบ หน้ามืด หมดสติบ่อย อย่าปล่อยไว้ คุณอาจเสี่ยงเป็นโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดช้า

หลายครั้งที่ผู้ป่วยโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะไม่รู้ตัวเองว่าเป็นโรคดังกล่าว และมาถึงมือแพทย์ด้วยอาการหมดสติหรืออาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตแบบกะทันหัน

อ่านต่อ…

สาระน่ารู้ เรื่อง หัวใจเต้นผิดจังหวะ

 

หัวใจเต้นผิดจังหวะคืออะไร?

หัวใจมีอาการเต้นผิดจังหวะ หัวใจเต้นเร็วเกินไป หรือ ช้าเกินไป อาการเหล่านี้จะส่งผลอันตรายต่อร่างกายหรือไม่ อาการเป็นอย่างไร มาร่วมหาคำตอบไปกับ นพ. ปริวัตร เพ็งแก้ว

 

อาการหัวใจเต้นผิดจังหวะเป็นอย่างไร?

คุณเคยรู้สึกใจสั่น หรือเหนื่อยง่ายผิดปกติไหม นั่นอาจเป็นอาการของโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โดยอาการจะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด หัวใจเต้นช้า และหัวใจเต้นเร็ว ซึ่งอาการแต่ละชนิดมีความอันตรายแตกต่างกัน มาลองเช็คอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะแต่ละชนิดได้จากคลิปนี้


ปรึกษาแพทย์ได้เลยวันนี้

ทีมแพทย์ผู้เฉพาะทางพร้อมให้คำปรึกษา

มาตรฐาน JCI

กรุณาใส่รายละเอียดทางการแพทย์ และประวัติทางการแพทย์ของท่านให้ครบถ้วนที่สุด ซึ่งจะช่วยให้แพทย์ของเราให้คำปรึกษาได้อย่างแม่นยำและถูกต้องมากขึ้น

กรณีเร่งด่วนกรุณาติดต่อโดยตรงกับทางโรงพยาบาลได้ที่

Hotline 02 734 0000