ศูนย์กระดูกและข้อ

กระดูกสันหลังเคลื่อนทับเส้นประสาท รักษาได้ด้วยเทคนิค OLIF
เดินลำบาก ปวดหลังร้าวลงขา สัญญาณโรคกระดูกสันหลังเคลื่อน เกิดขึ้นได้ทุกวัยแต่รักษาให้หายขาดได้ด้วยเทคนิค OLIF ลุกเดินใน 12 – 24 ชั่วโมงหลังผ่าตัด กระดูกสันหลังเคลื่อนทับเส้นประสาทเป็นโรคที่ก่อให้เกิดอาการปวดทรมานไม่แพ้โรคทางกระดูกสันหลังชนิดอื่น

ศูนย์กระดูกและข้อ

5 สาเหตุเกิด “กระดูกงอก”
ลองสังเกตส้นเท้าของคุณ ว่ามีกระดูกปูด นูน งอก หรือมีอาการเจ็บที่ส้นเท้าหรือไม่ หากใครมีอาการก็อาจเกิดจาก กระดูกงอก ก็เป็นได้ "กระดูกงอก" นั้นเกิดขึ้นเมื่อข้อต่อหรือเส้นเอ็นเกิดความเสียหาย ร่างกายจึงพยายามซ่อมแซมส่วนที่เสียหาย

ศูนย์กระดูกและข้อ

ปวดบวมที่ข้อศอก อาการที่ปล่อยไว้นานอาจเรื้อรัง
การบาดเจ็บที่ข้อศอกไม่ได้พบแค่เพียงนักกีฬาเท่านั้น แต่คนทั่วไปที่ใช้งานเหยียดข้อศอกหรือกระดกข้อมือในท่าเดิม ๆ ซ้ำ ๆ รวมถึงการวางข้อมือและข้อศอกไม่เหมาะสมในการทำงาน ก็อาจทำให้เอ็นและกล้ามเนื้อข้อศอกบาดเจ็บได้เช่นกัน หากไม่รีบรักษา

ศูนย์กระดูกและข้อ

หยุด 5 สิ่งทำลายกระดูกเท้าโดยไม่รู้ตัว
การสวมรองเท้าส้นสูงจะทำให้น้ำหนักตัวและแรงกระแทกจากการเดินไปอยู่ที่บริเวณปลายเท้าและนิ้วเท้าแทนด้วยเหตุผลนี้

ศูนย์กระดูกและข้อ

สังเกตไม่ยากหาก “กระดูกสันหลังคด”
เคยสงสัยไหมว่าทำไมถึงปวดหลังบ่อย ๆ ไม่ว่าจะเป็นช่วงกลางหลัง หลังส่วนเอว หรือบางคนอาจมีอาการปวดลงไปถึงเข่าแต่ก็หาสาเหตุไม่ได้ โดยอาการปวดหลังเรื้อรังเช่นนี้อาจเกิดจากความไม่สมดุลของร่างกายเนื่องจากโรคกระดูกสันหลังคด

ศูนย์กระดูกและข้อ

6 ท่าบริหารข้อเท้าให้แข็งแรง
ใครที่เคยประสบปัญหาข้อเท้าพลิกบ่อย ๆ หรือข้อเท้าหลวม ต้องรู้ไว้กับ 6 ท่าบริหารข้อเท้าที่จะช่วยให้กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นรอบข้อเท้าแข็งแรงขึ้น นั่งเก้าอี้แล้วเหยียดขาไปด้านหน้า ใช้ปลายเท้าวาดเป็นตัวเลข 0 – 9 ในอากาศ เพื่อให้ข้อเท้าขยับในทุกทิศทาง ทำซ้ำ 2-3 รอบ บริหารวันละ 2-3 ครั้ง นั่งราบกับพื้นเหยียดขาไปด้านหน้า

ศูนย์กระดูกและข้อ

ปวดหลัง ปวดคอ รักษาได้ด้วยการ “ดึง”
เครื่องดึงหลัง-ดึงคอ เป็นอุปกรณ์อีกหนึ่งชนิดที่แพทย์จะเลือกใช้รักษาผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังและปวดคอ เพื่อลดแรงกดทับหมอนรองกระดูกสันหลัง เส้นประสาทและเนื้อเยื่อบริเวณที่ปวด

ศูนย์กระดูกและข้อ

ถ้ากระดูกหัก…ต้องใส่เฝือกนานแค่ไหน ?
กระดูกหักคือการที่กระดูกได้รับบาดเจ็บจนแตก หัก ไม่สามารถรับน้ำหนักหรือใช้งานตามปกติได้ มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุไม่ว่าจะเป็นอุบัติเหตุจากการขับขี่ ตกจากที่สูง รวมทั้งจากการเล่นกีฬา ส่วนมากจะพบผู้ป่วยกระดูกหักได้บ่อยบริเวณข้อมือและข้อเท้า

ศูนย์กระดูกและข้อ

ปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อสงสัยว่ากระดูกหัก
อาการกระดูกหักจากอุบัติเหตุต่าง ๆ หรือแม้แต่การเล่นกีฬาเป็นอาการบาดเจ็บที่พบได้บ่อย ซึ่งเมื่อเกิดการบาดเจ็บและสงสัยว่ามีกระดูกหักควรปฐมพยาบาลเบื้องต้นดังนี้ ไม่เคลื่อนย้ายผู้ป่วยในกรณีที่สงสัยว่ากระดูกหลัง
4594