บทความสุขภาพ Archives - Page 2 of 144 - โรงพยาบาลเวชธานี

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

นิ้วล็อกเป็นระยะไหน ถึงรักษาได้ด้วยวิธีการสะกิด
#โรคนิ้วล็อก ในระยะแรก ๆ จะมีอาการเจ็บนิ้วมือและมีความรู้สึกสะดุดในขณะที่เหยียดนิ้วมือ ในระยะนี้ยังสามารถเหยียดนิ้วได้ แพทย์จะแนะนำให้ทานยาและแช่น้ำอุ่นวันละ 30 นาที พร้อมสอนท่าบริหารนิ้วมือให้นำไปฝึกที่บ้าน

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

สะกิดนิ้วล็อกไปแล้ว จะกลับมาเป็นซ้ำไหม
คำยอดฮิตที่คนไข้หลายคนกังวล จากประสบการณ์ของแพทย์ที่ได้สะกิดนิ้วล็อกไปแล้วมากกว่า 1,000 นิ้ว "ไม่มีผู้ป่วยกลับมานิ้วเดิมซ้ำ"

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

กล้ามเนื้ออ่อนแรงจากโรคหลอดเลือดสมอง ฟื้นฟูได้ด้วย TMS
ฟื้นฟูกล้ามเนื้ออ่อนแรงและลดอาการเกร็งในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ด้วยเครื่องกระตุ้นสมองด้วยคลื่นแม่เหล็ก เพื่อให้ผู้ป่วยกลับมาเคลื่อนไหวและใช้ชีวิตประจำวันได้ดีกว่าเดิม

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

C-Mill machine หุ่นยนต์ช่วยฟื้นฟูการทรงตัว ผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง
C-Mill machine หุ่นยนต์ช่วยฟื้นฟูการเดินในสภาพจำลองเสมือนจริงบนพื้นฐานการเล่นเกมส์ เช่น การเดินในสถานที่ต่าง ๆ การหลบเลี่ยงสิ่งกีดขวาง ฟื้นฟูการทรงตัวและการก้าวเดิน ปรับจังหวะการก้าวเดิน เพื่อให้ผู้ป่วยเตรียมพร้อมสำหรับสถานการณ์จริง

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

4 สาเหตุที่ทำให้เป็นโรคซึมเศร้า
“ซึมเศร้า” หนึ่งในโรคจิตเวชที่คนไทยเป็นกันมาก และมีผู้ป่วยจำนวนไม่น้อยที่ไม่รู้ตัวว่าเป็น ทำให้ไม่ได้เข้าถึงการรักษาอย่างทันท่วงที

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

ปลดนิ้วล็อกง่าย ๆ ด้วย 5 วิธี
อาการนิ้วล็อกส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่ใช้มือทำต่อเนื่องเป็นเวลานานเช่น การถือหรือแบกของหนักเป็นเวลานาน ใช้อุปกรณ์ที่ต้องออกแรงกดต่อเนื่อง หรือแม้กระทั่งการใช้งานที่ไม่ได้หนักแต่ทำซ้ำๆ หรือนานๆเช่นการใช้โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์มากเกินไป ก็อาจทำให้เกิดอาการนิ้วล็อคได้

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

2 Step คลายนิ้วล็อกด้วยตัวเองแบบง่ายๆ
โดยอาการในระยะแรกสามารถรักษาได้ด้วยการกินยา ทำกายภาพบำบัด ฉีดยาสเตียรอยด์ ซึ่งจะได้ผลดีในระยะ 4 – 6 เดือนแรก ทั้งนี้ ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมแบบเดิม ๆ และพักการใช้มือให้เพียงพอด้วย

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

ฟื้นฟูการกลืนด้วยเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า เพิ่มภาวะโภชนาการให้ผู้ป่วย
โรคหลอดเลือดสมอง (Cerebrovascular disease) เป็นโรคที่มีอัตราการเสียชีวิตสูงเป็นอันดับต้น ๆ พบมากในกลุ่มอายุ 65 ปีขึ้นไปทั้งเพศชายและหญิง โดยเกิดจากความเสื่อมของหลอดเลือด ซึ่งเป็นผลจากโรคประจำตัวบางชนิด เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ในผู้ป่วยที่รอดชีวิตก็ยังได้รับผลกระทบจากภาวะแทรกซ้อน ไม่ว่าจะเป็นระดับความรู้สึกตัวลดลง ความจำถดถอย ภาวะซึมเศร้า ตลอดจนกำลังกล้ามเนื้อหายไปจนส่งผลกระทบต่อการช่วยเหลือตัวเองในการทำกิจวัตรประจำวัน โดยเฉพาะการกลืนที่ที่ผิดปกติซึ่งอาจส่งผลกระทบให้ผู้ป่วยสำลักและมีภาวะโภชนาการที่บกพร่องได้หลังจากรักษาภาวะหลอดเลือดสมองแล้ว ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูเพื่อให้ร่างกายกลับมาทำงานได้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด โดยปัญหาเรื่องการกลืนนั้น ได้แก่ กลืนติด กลืนลำบาก กลืนเจ็บหรือจุกแน่นในลำคอ ไอและสำลักขณะรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำ สามารถตรวจวินิจฉัยผ่านภาพถ่ายรังสี (Videofluoroscopic swallowing study) และส่องกล้องประเมินการกลืน (Fiberoptic endoscopic evaluation of swallowing) พร้อมให้การบำบัดฟื้นฟูด้วยการออกกำลังกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการกลืน เช่น ลิ้น ลำคอ บริหารเส้นเสียง เป็นต้น หรือใช้เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าแบบอ่อน (Vital Stim) ร่วมกับการฝึกจัดท่าทางในการกลืนที่เหมาะสมโดยแพทย์และนักกิจกรรมบำบัดเฉพาะทาง ซึ่งการฟื้นฟูนี้จะวางโปรแกรมเฉพาะรายผู้ป่วยหลังจากได้รับการตรวจประเมินแล้ว พร้อมด้วยนักโภชนาการที่จะช่วยปรับประเภทอาหารให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย ทีมทันตแพทย์เพื่อช่วยตรวจสุขภาพฟันและเหงือก เพื่อส่งเสริมให้การกลืนมีความปลอดภัยมากขึ้น โดยการฟื้นฟูนั้น ควรเข้ารับการฝึกอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง […]

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

กระตุ้นสมองด้วย TMS รักษาโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่อารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด พฤติกรรม รวมถึงลักษณะอาการทางร่างกายมีการเปลี่ยนแปลง และเป็นหนึ่งในโรคทางจิตเวชที่มีผู้ป่วยจำนวนไม่น้อย
1852