ศูนย์กระดูกสันหลัง

หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โรคที่มาพร้อมกับอาการปวด
ปวดคอ ปวดหัว ปวดหลัง และอีกสารพัดปวด ที่เกิดจากการก้มหน้าเล่นสมาร์ทโฟน นั่งทำงานต่อเนื่องยาวนาน หรือยกของหนัก สัญญาณเหล่านี้ไม่ควรมองข้าม

ศูนย์กระดูกสันหลัง

นั่งท่าเดิมนาน ๆ สาเหตุหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
นั่งทำงานหน้าคอมฯ นานต่อเนื่องเกิน 2 ชั่วโมง อาจทำให้เกิดอาการตึงหลัง ปวดหลัง ขาชา ซึ่งหลายคนมักจะเลือกทนจนอาการรุนแรงและนำไปสู่โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท

ศูนย์กระดูกสันหลัง

สะบัดคอกร็อบ ระวังกระดูกคอเสื่อม !
โรคกระดูกคอเสื่อม สามารถรักษาได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค หากอาการไม่รุนแรงสามารถใช้วิธีกายภาพบำบัดร่วมกับการรับประทานยาได้ แต่ถ้ามีอาการชา แขนขาอ่อนแรงร่วมด้วย ถือเป็นสัญญาณอันตรายที่ต้องรีบรักษาด้วยการผ่าตัด

ศูนย์กระดูกสันหลัง

ปวดคอ กระดูกคอเสื่อม รู้เมื่อสายอันตรายกว่าที่คิด
ปวดคอ กระดูกคอเสื่อม เป็นโรคที่เกิดจากอายุที่เพิ่มขึ้นและการใช้งานคอผิดท่าเป็นเวลานาน ซึ่งปัจจุบันพบผู้ป่วยโรคกระดูกคอเสื่อมในช่วงอายุที่น้อยลงมากขึ้น

ศูนย์กระดูกสันหลัง

ปวดหลังเพราะนั่งทับกระเป๋าสตางค์ ?
การนั่งทับกระเป๋าสตางค์นอกจากจะเสียบุคลิกภาพแล้ว ยังทำให้สุขภาพกระดูกสันหลังพังอีกด้วย

ศูนย์กระดูกสันหลัง

“ปวดหลัง” แต่ทำไมร้าวลงขา
ปวดหลังอาการยอดฮิตของกลุ่มคนวัยทำงาน แต่หากมีอาการปวดร้าวลงขาร่วมด้วย อาจเป็นสัญญาณเตือนถึงโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ซึ่งหากรักษาตั้งแต่เนิ่น ๆ สามารถหายเป็นปกติได้ แต่หากปล่อยทิ้งไว้นานอาการอาจรุนแรงมากขึ้น จนต้องรักษาด้วยการผ่าตัด

ศูนย์กระดูกสันหลัง

อายุน้อย เสี่ยงหมอนรองกระดูกเคลื่อน
โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อน (Lumbar Disc Herniation) เป็นโรคที่พบบ่อยในคนที่หมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม

ศูนย์กระดูกสันหลัง

6 อาการปวดหลัง แบบไหนเสี่ยงโรค
สำหรับคนที่มีอาการปวดหลัง ควรหมั่นสังเกตตัวเองว่า เวลาปวดนั้นรู้สึกปวดแบบใด เพราะลักษณะอาการปวดหลังนั้นสามารถ เป็นตัวช่วยในการวินิจฉัยโรคได้ ดังนี้

ศูนย์กระดูกสันหลัง

ก้มเล่นมือถือ หนึ่งในพฤติกรรมเสี่ยงกระดูกคอเสื่อม
อาการปวดคอหลายคนอาจคิดว่าธรรมดาทั่วไป เป็นแล้วเดี๋ยวก็หาย แต่หากมีอาการร่วมด้วยแล้ว เช่น #ปวดบริเวณคอร้าวลงไปถึงแขน , #คอแข็ง เคลื่อนไหวผิดปกติ อาการเหล่านี้อาจเป็นสัญญาณเตือนของโรคกระดูกคอเสื่อม ซึ่งจะเริ่มมีอาการรุนแรงขึ้นจนอาจส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน โดยมีปัจจัยกระตุ้น
927