บทความสุขภาพ Archives - โรงพยาบาลเวชธานี

ศูนย์ต่อมไร้ท่อ เบาหวานและโภชนบำบัด

สัญญาณไทรอยผิดปกติ เป็นแล้วต้องรีบรักษา
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland) มีลักษณะคล้ายผีเสื้อ อยู่ใต้ลูกระเดือกบริเวณด้านหน้าของลำคอ ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนไทรอยด์เพื่อใช้ควบคุมการทำงาน

ศูนย์ต่อมไร้ท่อ เบาหวานและโภชนบำบัด

7 สัญญาณบอกโรคไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland) มีลักษณะคล้ายผีเสื้อ อยู่ใต้ลูกระเดือกบริเวณด้านหน้าของลำคอ ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนไทรอยด์เพื่อใช้ควบคุมการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย

ศูนย์ต่อมไร้ท่อ เบาหวานและโภชนบำบัด

เป็นเบาหวานทำตัวอย่างไรในช่วง COVID-19
ทุกคนมีความเสี่ยงติดเชื้อ COVID-19 ได้ทุกคน แต่รู้หรือไม่ ? หากเป็นโรคเบาหวาน มีความเสี่ยงติดเชื้อที่รุนแรงกว่า โดยจะมีอาการหรือภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงกว่าผู้ที่ไม่เป็นเบาหวาน

ศูนย์ต่อมไร้ท่อ เบาหวานและโภชนบำบัด

เช็กหน่อย…มีสัญญาณไทรอยด์หรือเปล่า
ไทรอยด์ เป็นโรคที่พบได้ในคนทุกเพศทุกวัย ไม่ใช่แค่ในผู้ใหญ่เท่านั้นแต่เด็กก็สามารถเป็นโรคนี้ได้เช่นกัน โดยฮอร์โมนไทรอยด์มีผลต่อร่างกายแทบทุกระบบ ดังนั้นเมื่อฮอร์โมนไทรอยด์มีความผิดปกติ จึงทำให้แสดงอาการที่บ่งบอกโรคค่อนข้างหลากหลาย ดังนี้

ศูนย์ต่อมไร้ท่อ เบาหวานและโภชนบำบัด

COVID-19 ไวรัสร้ายทำลายหัวใจ
COVID-19 เป็นไวรัสที่ไม่ได้ส่งผลกระทบต่อปอดและระบบทางเดินหายใจเท่านั้น แต่ยังทำให้เกิดความผิดปกติต่อหัวใจด้วย โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจเป็นโรคประจำตัวอยู่เดิม เช่น โรคความดันโลหิตสูง เส้นเลือดหัวใจตีบ หรือหัวใจเต้นผิดจังหวะ ซึ่งพบว่าโดยทั่วไปแล้วการทำงานของหัวใจ

ศูนย์ต่อมไร้ท่อ เบาหวานและโภชนบำบัด

รับมืออย่างไร? เมื่อต้องทานยา ‘ไทรอยด์’ ต่อเนื่องเป็นเวลานาน
ไทยรอยด์ เมื่อได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์แล้วว่า ต่อมไทรอยด์ของเราทำงานผิดปกติ ไม่ว่าจะเกิดจากภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย หรือต่อมไทรอยด์ทำงานมาก

ศูนย์ต่อมไร้ท่อ เบาหวานและโภชนบำบัด

ผ่าตัดไทรอยด์ไร้แผล ยกระดับคุณภาพชีวิตหลังการรักษา
“ไทรอยด์” เป็นต่อมไร้ท่อที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ ช่วยควบคุมระบบเผาผลาญ อุณหภูมิร่างกาย การเจริญเติบโต และพัฒนาการของสมอง

ศูนย์ต่อมไร้ท่อ เบาหวานและโภชนบำบัด

“ไทรอยด์เป็นพิษ” อันตรายต่อร่างกายเกือบทั้งระบบ
ไทรอยด์ เป็นพิษ เป็นต่อมไร้ท่อที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย อยู่บริเวณส่วนหน้าของลำคอ ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ และหลั่งเข้าสู่กระแสเลือดเพื่อไปออกฤทธิ์ตามอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย การสร้างฮอร์โมนไทรอยด์ จำเป็นต้องใชไอโอดีนเป็นส่วนประกอบ หากได้ไอโอดีนมากหรือน้อยเกินไป อาจทำให้ไทรอยด์ทำงานผิดปกติ และส่งผลกระทบต่ออวัยวะแทบทุกระบบในร่างกาย

ศูนย์ต่อมไร้ท่อ เบาหวานและโภชนบำบัด

รู้ไว้ใช่ว่า! ความสำคัญของ “HBA1c” กับค่าเฉลี่ย น้ำตาลในเลือด ของผู้ป่วยเบาหวาน
พฤติกรรมการใช้ชีวิตในยุคปัจจุบัน ทั้งการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย พักผ่อนไม่เพียงพอ ความเครียด และภาวะอ้วน ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้อุบัติการณ์ของโรคเบาหวานเพิ่มมากขึ้น
912