ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

หลังสะกิด รักษานิ้วล็อกไปแล้ว ใช้มือปกติได้เลยไหม ?
ผู้ป่วยนิ้วล็อกส่วนใหญ่ มักจะถามกันว่าหลังจากสะกิดนิ้วล็อกไปแล้วจะกลับมาใช้งานมือได้ปกติเลยหรือไม่ ต้องพักมือเป็นสัปดาห์เลยหรือเปล่า สำหรับการรักษานิ้วล็อกด้วยวิธีสะกิดคือ แผลเล็ก ขนาดแค่เท่ารูเข็ม ทำให้ไม่ต้องพักฟื้นนาน

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

เป็นนิ้วล็อกง้างนิ้วออกเอง อันตรายไหม
สำหรับผู้ที่เป็นโรคนิ้วล็อก ที่เกิดการล็อกแล้ว เอามืออีกข้างมาดัดนิ้วให้แบออกจะอันตรายไหม "ไม่อันตราย" แต่ "ไม่ควรทำมากกว่า" เพราะการที่ต้องเอามืออีกข้างมาพยายามง้างมืออีกข้างออก ก็บ่งบอกว่าตัวโรคเป็นมาก หรือเป็นนิ้วล็อกระยะ 3 แล้ว

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

ระหว่างสะกิดนิ้วล็อกเจ็บไหม ??
ผู้ป่วยโดยส่วนใหญ่ที่เข้ามาสะกิดนิ้วล็อก ในขณะที่กำลังสะกิดนิ้วล็อกแพทย์จะคอยถามเสมอว่ามีอาการเจ็บไหม ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วจะบอกว่า "ไม่เจ็บ" แต่จะอาการเจ็บนิดๆ แค่ตอนฉีดยาชาเท่านั้น

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

นิ้วล็อกเป็นระยะไหน ถึงรักษาได้ด้วยวิธีการสะกิด
#โรคนิ้วล็อก ในระยะแรก ๆ จะมีอาการเจ็บนิ้วมือและมีความรู้สึกสะดุดในขณะที่เหยียดนิ้วมือ ในระยะนี้ยังสามารถเหยียดนิ้วได้ แพทย์จะแนะนำให้ทานยาและแช่น้ำอุ่นวันละ 30 นาที พร้อมสอนท่าบริหารนิ้วมือให้นำไปฝึกที่บ้าน

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

สะกิดนิ้วล็อกไปแล้ว จะกลับมาเป็นซ้ำไหม
คำยอดฮิตที่คนไข้หลายคนกังวล จากประสบการณ์ของแพทย์ที่ได้สะกิดนิ้วล็อกไปแล้วมากกว่า 1,000 นิ้ว "ไม่มีผู้ป่วยกลับมานิ้วเดิมซ้ำ"

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

กล้ามเนื้ออ่อนแรงจากโรคหลอดเลือดสมอง ฟื้นฟูได้ด้วย TMS
ฟื้นฟูกล้ามเนื้ออ่อนแรงและลดอาการเกร็งในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ด้วยเครื่องกระตุ้นสมองด้วยคลื่นแม่เหล็ก เพื่อให้ผู้ป่วยกลับมาเคลื่อนไหวและใช้ชีวิตประจำวันได้ดีกว่าเดิม

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

C-Mill machine หุ่นยนต์ช่วยฟื้นฟูการทรงตัว ผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง
C-Mill machine หุ่นยนต์ช่วยฟื้นฟูการเดินในสภาพจำลองเสมือนจริงบนพื้นฐานการเล่นเกมส์ เช่น การเดินในสถานที่ต่าง ๆ การหลบเลี่ยงสิ่งกีดขวาง ฟื้นฟูการทรงตัวและการก้าวเดิน ปรับจังหวะการก้าวเดิน เพื่อให้ผู้ป่วยเตรียมพร้อมสำหรับสถานการณ์จริง

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

4 สาเหตุที่ทำให้เป็นโรคซึมเศร้า
“ซึมเศร้า” หนึ่งในโรคจิตเวชที่คนไทยเป็นกันมาก และมีผู้ป่วยจำนวนไม่น้อยที่ไม่รู้ตัวว่าเป็น ทำให้ไม่ได้เข้าถึงการรักษาอย่างทันท่วงที

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

ปลดนิ้วล็อกง่าย ๆ ด้วย 5 วิธี
อาการนิ้วล็อกส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่ใช้มือทำต่อเนื่องเป็นเวลานานเช่น การถือหรือแบกของหนักเป็นเวลานาน ใช้อุปกรณ์ที่ต้องออกแรงกดต่อเนื่อง หรือแม้กระทั่งการใช้งานที่ไม่ได้หนักแต่ทำซ้ำๆ หรือนานๆเช่นการใช้โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์มากเกินไป ก็อาจทำให้เกิดอาการนิ้วล็อคได้
945