ศูนย์กระดูกและข้อ

นิ้วเท้าเกผิดรูป โรคที่มาพร้อมกับความสวย
ภาวะนิ้วโป้งเท้าเก ลักษณะความผิดปกติของนิ้วหัวแม่เท้าเอียงเข้าหานิ้วชี้ และมีกระดูกหัวแม่เท้าทางด้านในนูนออกมา ในระยะแรก ๆ อาจไม่มีอาการผิดปกติ โดยจะสังเกตเห็นนิ้วเท้าเอียงไม่สวยงาม ในระยะต่อมาจะมีอาการปวดด้านในของนิ้วหัวแม่เท้า

ศูนย์กระดูกและข้อ

ใส่และเลือกส้นสูงอย่างไรให้เหมาะสม
รองเท้าส้นสูง หรือ รองเท้าหัวแหลม หนึ่งในอุปกรณ์ความสวย เพิ่มความสูง ขาเรียวยาวให้กับสาวๆ แต่ความสวยแบบนี้ก็เป็นหนึ่งในสาเหตุของนิ้วเท้าผิดรูปได้ เช่น นิ้วเท้าเอียงผิดรูป หรือนิ้วโป้งเท้าเก

ศูนย์กระดูกและข้อ

สาวๆ ต้องรู้ใส่ส้นสูงอย่างไรให้ห่างไกลโรค
รองเท้าส้นสูง หรือ รองเท้าหัวแหลมหนึ่งในอุปกรณ์ความสวย เพิ่มความสูง ขาเรียวยาวให้กับสาวๆ แต่ความสวยแบบนี้ก็เป็นหนึ่งในสาเหตุของนิ้วเท้าผิดรูปได้

ศูนย์กระดูกและข้อ

วิธีบรรเทาอาการปวดสะบัก ยกแขนไม่ขึ้น
ข้อไหล่ติดเกิดจากช่องในข้อไหล่แคบลง เพราะเยื่อหุ้มและแคปซูลในข้อไหล่หนาตัวเป็นพังผืดและตึงขึ้นรอบ ๆ ทำให้ข้อไหล่ขยับได้น้อยลง

ศูนย์กระดูกและข้อ

ข้อเท้าพลิกอย่าชะล่าใจ รีบรักษาก่อนเรื้อรัง
เมื่อข้อเท้าพลิกจะทำให้เส้นเอ็นอักเสบ จนเกิดอาการบวม แดง และปวด แต่ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถลงน้ำหนักตัวได้อาจบ่งชี้ว่าเส้นเอ็นข้อเท้าฉีกขาดหรือมีกระดูกหักร่วมด้วย ควรรีบมาพบแพทย์

ศูนย์กระดูกและข้อ

ไม่ต้องผ่าตัด แค่ฉีด PRP ก็สามารถรักษาอาการ เจ็บเข่าเรื้อรัง ได้
ลดโอกาสผ่าตัด! ด้วยการใช้พลาสม่าเกล็ดเลือดเข้มข้น สามารถ รักษาเอ็นข้อเข่าบาดเจ็บ เอ็นอักเสบเรื้อรัง แทบไม่มีผลข้างเคียงเพราะใช้เลือดของตัวเราเอง

ศูนย์กระดูกและข้อ

ปวดเท้า ไม่รักษาปล่อยไว้อาจเรื้อรัง
หลายคนอาจเคย จู่ๆ มีอาการปวดส้นเท้าและฝ่าเท้ามากหลังตื่นนอน ซึ่งอาการนี้อาจเกิดจากโรครองช้ำอักเสบ หรือที่เรียกเอ็นฝ่าเท้าอักเสบ มักเกิดจากเวลาที่เดินลงน้ำหนัก หรือกระแทกเกินไป ซึ่งอาจมีอาการปวดมากหลังตื่นนอน บางคนอาจคิดว่าเป็นแค่อาการปวดเมื่อยทั่วไป และคิดว่าไม่เป็น แต่อาจเป็นสัญญาณของโรครองช้ำ และหากปล่อยไว้อาการอาจเรื้อรังได้ !

ศูนย์กระดูกและข้อ

3 ระดับอาการข้อเท้าแพลง ข้อเท้าเคล็ด และวิธีปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ใครหลาย ๆ คนที่ชื่นชอบกับการเล่นกีฬา ออกกำลังกาย หรือ ชอบใส่รองเท้าส้นสูง เป็นเวลานาน ๆ อาจจะทำให้ข้อเท้าพลิกได้ ซึ่งดูเหมือนเป็นอาการทั่ว ๆ ไป

ศูนย์กระดูกและข้อ

อายุน้อย กระดูกก็พรุนได้
หลายคนชอบคิดว่า กระดูกพรุน เป็นโรคที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุเท่านั้น แต่ในความเป็นจริงแล้วมวลกระดูกของคนเราจะเริ่มลดลงอย่างช้า ๆ ตั้งแต่ช่วงอายุ 30 – 40 ปี และจะเริ่มลดลงเรื่อย ๆ ตามวัยที่มากขึ้น
934