“ข้อไหล่หลุด” เป็นซ้ำ ๆ รักษาได้
ข้อไหล่หลุด อาการยอดฮิตที่มีสาเหตุจากอุบัติเหตุ หกล้มหรือเล่นกีฬาจากการปะทะจนข้อไหล่ถูกกระแทกอย่างแรงทำให้หัวกระดูกหลุดออกมานอกเบ้าไหล่ ได้แก่ ฟุตบอล รักบี้ ชกมวย

4 สาเหตุที่ทำให้ไหล่ติด
ข้อไหล่ติด เป็นอาการที่เกิดจากเนื้อเยื่อถุงหุ้มข้อไหล่อักเสบหรือผิดปกติ จนมีอาการปวดไหล่และขยับข้อไหล่ลำบากหรือยกแขนได้ไม่สุด หากไม่ได้รับการรักษาอาการที่ถูกต้องเหมาะสม จะมีอาการปวดเรื้อรังนานหลายปี ข้อไหล่ไม่สามารถฟื้นตัวและกลับมาใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพเหมือนเดิม ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันในระยะยาว โดยข้อไหล่ติดเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ดังนี้

วิธีการรักษาเอ็นหมุนหัวไหล่ฉีก
โรคเอ็นหมุนหัวไหล่ฉีกขาด เกิดจากการใช้งานข้อไหล่มาก ในท่าทางซ้ำ ๆ ต่อเนื่องเป็นเวลานานจนทำให้เส้นเอ็นเสื่อม หรืออาจเกิดจากอุบัติเหตุไหล่กระแทกรุนแรง รวมถึงการปะทะระหว่างเล่นกีฬา ส่งผลให้เส้นเอ็น Rotator Cuff ฉีกขาด ซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดไหล่เรื้อรัง ยกแขนได้ไม่สุด และขยับแขนได้น้อยลง ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำ

4 อาการเอ็นหมุนหัวไหล่ฉีก
โรคเอ็นหมุนหัวไหล่ฉีกขาดนั้น อาจเกิดจากสาเหตุการใช้งานเป็นเวลานาน จนเกิดความเสื่อม หรืออุบัติเหตุ ไหล่กระแทกรุนแรง ซึ่งจะทำให้เกิดเส้นเอ็น Rotator Cuff ฉีกขาด ช่วงแรกอาจเป็นฉีกบางส่วนแต่หากปล่อยทิ้งไว้นาน อาจฉีกขาดตลอดความหนาของเส้นเอ็นได้

เอ็นไขว้หน้าบาดเจ็บ ทั้งจากอุบัติเหตุและการเล่นกีฬารักษาได้ด้วยการผ่าตัดแบบ One-Day Surgery ผ่าเช้า – เย็นกลับบ้านได้ ไม่ต้องนอนโรงพยาบาล
เอ็นไขว้หน้าหัวเข่าเป็นเส้นเอ็นสำคัญที่ช่วยให้ข้อเข่ามีความมั่นคงขณะใช้งาน ไม่หมุนเคลื่อนหรือบิดผิดปกติในขณะเดินหรือวิ่งป้องกันข้อเข่าไม่ให้เกิดอันตรายต่อส่วนประกอบภายในอื่น ๆ ในข้อเข่า เช่นหมอนรองเข่า (Meniscus) หรือกระดูกอ่อนข้อเข่า (cartilage) เป็นต้น แต่ถ้าเอ็นไขว้หน้าบาดเจ็บหรือฉีกขาดแล้วไม่รีบรักษาอาจนำไปสู่ภาวะเข้าเข่าเสื่อมได้

5 โรคข้อไหล่ที่พบบ่อยและทำให้ปวดไหล่
อาการปวดไหล่เกิดได้ทั้งจากการใช้งาน อุบัติเหตุและความเสื่อม แต่ไม่ว่าจากสาเหตุไหนก็ควรรีบพบแพทย์ก่อนอาการจะรุนแรงหรือนำไปสู่โรคแทรกซ้อนอื่น ๆ

ทำกิจกรรมเหล่านี้แล้วมีอาการเจ็บไหล่ ระวังเป็นข้อไหล่ติด
อาการของโรคข้อไหล่ติดจะแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับความรุนแรงและระยะเวลาในการดำเนินโรค โดยผู้ป่วยสามารถสังเกตอาการของโรคข้อไหล่ติดได้จากการใช้งานแขนในลักษณะดังต่อไปนี้

6 ข้อ บอกโรค “ข้อไหล่ติด”
ยกแขน 2 ข้างได้ไม่เท่ากัน และแขนไม่สามารถแตะหูได้ ยกแขนสวมเสื้อผ้าไม่ได้ ติดตะขอชุดชั้นในจากด้านหลังไม่ได้ เอี้ยวตัวหยิบของด้านหลังไม่ได้ ผลักประตูหนัก ๆ ไม่ได้ ปวดไหล่เรื้อรัง หรือปวดรุนแรงในช่วงกลางคืน

เอ็นไขว้หน้าขาด อุบัติเหตุครั้งเดียว เจ็บระยะยาว
เอ็นไขว้หน้าบาดเจ็บ ทั้งจากอุบัติเหตุและการเล่นกีฬารักษาได้ด้วยการผ่าตัดแบบ One-Day Surgery ผ่าเช้า – เย็นกลับบ้านได้ ไม่ต้องนอนโรงพยาบาล เอ็นไขว้หน้าหัวเข่าเป็นเส้นเอ็นสำคัญที่ช่วยให้ข้อเข่ามีความมั่นคงขณะใช้งาน
914