เคมีบำบัดชนิดรับประทาน หนึ่งในมาตรฐานยารักษาโรคมะเร็ง
การวางแผนการรักษาโรคมะเร็งในปัจจุบัน แพทย์จะพิจารณาจากชนิดของมะเร็งและระยะของโรคเป็นสำคัญ ซึ่งวิธีการรักษาแบบมาตรฐาน มีตั้งแต่การผ่าตัด การฉายรังสี รวมถึงการให้ยารักษามะเร็ง เช่น เคมีบำบัด ซึ่งมีทั้งแบบฉีดและแบบรับประทาน เป็นต้น

อ้วนลงพุง เสี่ยงมะเร็งมากกว่าคนทั่วไป
ทราบกันดีว่าโรคอ้วน ก่อให้เกิดโรคต่างๆ มากมาย ทั้งเบาหวาน หัวใจ ไขมันในหลอดเลือด แต่รู้ไหมว่ายังเสี่ยงมะเร็งได้มากกว่าคนทั่วไป โดยมีสาเหตุได้หลายสาเหตุ

ภูมิคุ้มกันบำบัดอีกหนึ่งทางเลือกรักษามะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม คือมะเร็งชนิดที่พบบ่อยเป็นอันดับ1ในผู้หญิงทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย แต่เดิมการรักษามะเร็งเต้านมมีวิธีการรักษาอยู่ 5 วิธี คือ 1) ผ่าตัด 2) ฉายแสง 3) ยาต้านฮอร์โมน 4) ยาเคมีบำบัด 5) ยามุ่งเป้า

รู้หรือไม่ ทำงานกับฝุ่น เสี่ยงมะเร็งปอดมากกว่าคนทั่วไป
โรคมะเร็งปอดเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 2 ของคนไทย และเป็นที่ทราบกันดีว่าการสูบบุหรี่และยาม้วนต่าง ๆ เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคมะเร็งปอด โดยผู้สูบบุหรี่อาจมีโอกาสเป็นโรคมะเร็งปอดมากกว่าผู้ที่ไม่สูบถึง 10 เท่า

“ยามุ่งเป้า” ยับยั้งมะเร็งอย่างตรงจุด
"ยามุ่งเป้า" (Targeted Therapy) คือ ยารักษามะเร็งที่ถูกพัฒนาให้มีความจำเพาะเจาะจงสูง กล่าวคือมีความจำเพาะต่อเซลล์ที่มีตัวรับที่กลายพันธุ์ หรือ ตัวรับที่เป็นกลไกหลักในการทำให้เกิดมะเร็ง ดังนั้นจึงทำให้เกิดผลลัพธ์และการตอบสนองที่ดี อีกทั้งยัง "มีผลข้างเคียงน้อยกว่าการให้ยาเคมีบำบัด"

ตรุษจีนนี้ ไหว้อย่างไรให้ปลอดโรค
เทศกาลตรุษจีน ถือว่าเป็นเทศกาลสำคัญของชาวไทยเชื้อสายจีน ที่จะต้องทำพิธีบูชาเทพเจ้าและแสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ซึ่งตามธรรมเนียมจะมีการจุดธูป ,เผากระดาษเงิน กระดาษทอง ,และการจุดประทัด แต่สิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดควันที่มีสารมลพิษ และมีความเสี่ยงเกิดโรคมะเร็งปอด

“ผู้ป่วยมะเร็ง” รับประทานอะไรได้บ้าง
เชื่อว่าหลายคนสงสัยเกี่ยวกับข้อจำกัดต่างๆว่า คนไข้มะเร็งสามารถรับประทานอะไรได้บ้าง อาหารประเภทเนื้อสัตว์เป็นตัวกระตุ้นการเจริญเติบโตของมะเร็งหรือไม่?

เชื้อแบคทีเรีย H.Pylori ภัยเงียบมะเร็งกระเพาะอาหาร
เชื้อเอชไพโลไร (H. Pylori) คือ เชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดการอักเสบของกระเพาะอาหาร โดยเชื้อแบคทีเรียชนิดนี้สามารถติดได้จากการรับประทานอาหารที่มีการปนเปื้อนเชื้อ ซึ่งป้องกันค่อนข้างยาก

มะเร็งปอดไม่สูบก็เสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยงมะเร็งปอดแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1.ปัจจัยภายในที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น กรรมพันธุ์ หรือพันธุกรรม 2.ปัจจัยภายนอกซึ่งสามารถควบคุมได้ เช่น บุหรี่ สารเคมี เป็นต้น โดยปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งปอดได้แก่ บุหรี่ ผู้ที่สูบบุหรี่จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งปอดมากกว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ 20 ถึง 30 เท่า
935