5 ปัจจัยเสี่ยงกระดูกสะโพกตายจากการขาดเลือด
ความผิดปกติของสะโพกไม่ได้เกิดแค่ในผู้สูงอายุเท่านั้น แต่บางโรคก็สามารถเกิดขึ้นได้กับคนอายุน้อยหรือในวัยทำงาน อย่างเช่นภาวะกระดูกสะโพกตายจากการขาดเลือด ซึ่งจะทำให้กระดูกอ่อนตัวลงและไม่สามารถรับน้ำหนักได้ จนทำให้เกิดการยุบตัวของหัวกระดูกสะโพก และเกิดภาวะข้อสะโพกเสื่อมในที่สุด

สะโพกเสื่อมแก้ได้แค่ปรับ 5 ข้อนี้
สะโพกเสื่อมถือว่าเป็นปัญหาใหญ่เพราะจะทำให้มีอาการปวดรุนแรง เดินลำบาก และจะปวดมากขึ้นในเวลากลางคืน แต่ในผู้ป่วยที่อาการเสื่อมยังไม่รุนแรงสามารถชะลอความเสื่อมและลดอาการปวดได้เบื้องต้น ด้วยการปรับพฤติกรรม

7 สาเหตุหลักที่ทำให้สะโพกหักง่าย
กระดูกสะโพกหักมักเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในผู้หญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีโอกาสเกิดถึง 1 ใน 7 อีกทั้งปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จึงทำให้พบผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักได้มากขึ้น

มีเสียงกึกกักที่ข้อสะโพกระวัง สะโพกเสื่อม
ข้อสะโพกเสื่อมหรือ (osteoarthritis of hip) เกิดขึ้นจากภาวะการสึกกร่อนของกระดูกอ่อนของส่วนของเบ้าและหัวของข้อสะโพก ทำให้กระดูกมีการเสียดสีกันโดยตรง จนทำให้เกิดอาการปวดและมีการเคลื่อนไหวติดขัด

สะโพกเสื่อมอายุน้อยก็เป็นได้
หลายคนคิดว่าสะโพกเสื่อมมักเกิดกับผู้สูงอายุ แต้แท้จริงแล้ว คนอายุน้อยที่ยังไม่ถึงเลข 6 ก็สะโพกเสื่อมได้เช่นกัน สำหรับกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงกระดูกสะโพกหักง่าย คือ

1 ใน 5 ของผู้สูงอายุที่ล้มแล้วสะโพกหักและไม่ผ่าตัดรักษา มักจะเสียชีวิตภายใน 1 ปี
ลดอัตราการเสียชีวิตของผู้สูงอายุที่ล้มแล้วสะโพกหักด้วยการผ่าตัดรักษาภายใน 24 ชั่วโมง ช่วยลดโอกาสเป็นผู้ป่วยติดเตียงและการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่นำไปสู่การเสียชีวิต ผู้สูงอายุที่หกล้มแล้วกระดูก สะโพกหัก และไม่ได้รับการผ่าตัดรักษาอย่างทันท่วงที

3 วิธีสังเกต “กระดูกสะโพกหัก”
กระดูกสะโพกหัก สามารถเกิดขึ้นได้ง่ายในผู้สูงอายุ ทั้งจากความเสื่อมของกระดูก ภาวะโรคกระดูกพรุน รวมถึงการสูญเสียการทรงตัวจากสาเหตุอื่นๆ ซึ่งกระดูกสะโพกหักนี้ถือเป็นภาวะเร่งด่วนที่ต้องรีบเข้ารับการรักษาเพื่อลดโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจนนำไปสู่การเสียชีวิต

4 วิธีป้องกัน ไม่ให้ผู้สูงอายุล้มง่าย
ผู้สูงอายุ “ล้ม” ถือว่าเป็นเรื่องใหญ่ เพราะอาจเสี่ยงกระดูกสะโพกแตก หัก หรือข้อสะโพกหลุด ทำให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวได้น้อยลงหรือไม่สามารถเคลื่อนไหวได้เลย และถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกวิธีหรือได้รับการรักษาล่าช้า อาจเสี่ยงกลายเป็นผู้ป่วยติดเตียงหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ทำให้เสียชีวิตได้

อายุน้อยกว่า 35 ปี ก็เสี่ยงเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมได้ หากมีภาวะข้อสะโพกขาดเลือด
กระดูกข้อสะโพกขาดเลือด (Osteonecrosis of Hip) พบได้ในผู้ป่วยอายุ 30-50 ปี โดยมีโอกาสพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
910