โรคซึมเศร้าหลังคลอด
คุณแม่หลังคลอด มักเกิดการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนในร่างกาย ที่อาจส่งผลต่อสภาวะอารมณ์และสภาพจิตใจ โดยมีอาการแสดง เช่น หงุดหงิดง่าย อารมณ์เศร้า เสียใจ อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย ร่างกายอ่อนเพลีย นอนไม่หลับ มีความกังวลเรื่องลูก โดยส่วนมากอาการแสดงมักเกิดขึ้นหลังจากคลอดนานติดต่อกันประมาณ 5 วัน ขึ้นอยู่กับคุณแม่แต่ละราย

วันครอบครัวปีนี้ มาดูแลสุขภาพ “จิต” เพื่อกันและกัน
ตั้งแต่ปี 2563 จนถึงตอนนี้ เรายังเผชิญกับโรคระบาดโควิด-19 อย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลกระทบหลากหลายด้าน ทั้งด้านการเงิน การงาน ทำให้หลายคนเกิดความเครียดจนกลายเป็นโรคซึมเศร้ากันมากขึ้น เราจึงควรหันมาให้กำลังใจกันมากกว่า เช่น รับฟังคนในครอบครัวด้วยความตั้งใจ และไม่ตัดสินใจแทน หากคนในครอบครัวมีความเศร้าควรให้กำลังใจ เพื่อให้รู้ว่ายังมีครอบครัวอยู่ตรงนี้เสมอ  วันรวมญาติควรทำกิจกรรมร่วมกัน เพื่อให้คนในครอบครัวผูกพันธ์และแน่นแฟ้นมากขึ้น  ในขณะที่คำถามบางอย่าง เช่น ทำงานเงินเดือนเท่าไหร่ , เลื่อนขั้นแล้วหรือยัง , มีแฟนแล้วหรือยัง แต่งงานเมื่อไหร่ อาจเป็นการทับถมหรือกดดันคนในครอบครัว และทำให้รู้สึกแย่กว่ามากกว่าเดิม ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ศูนย์อายุรกรรม โรงพยาบาลเวชธานีโทร 02-734-0000 ต่อ 2200

โกรธง่าย ร่าเริงผิดปกติ สลับอารมณ์เศร้า เสี่ยงเป็นไบโพลาร์
อารมณ์ขั้วที่ 1 ร่าเริงและมีพลังงานเยอะ กระฉับกระเฉงมากจนผิดปกติ อารมณ์ดี มนุษยสัมพันธ์ดีอย่างไม่สมเหตุสมผล พูดมาก พูดเร็ว มั่นใจในตัวเองสูง

เสพข่าวเกินพอดี กระทบจิตใจ เสี่ยงโรค PTSD
ปัจจุบันมีหลายสถานการณ์ให้ได้ติดตามอย่างต่อเนื่อง หลายคนติดตามจนมีอารมณ์ร่วมไปด้วย แต่รู้หรือไม่ ว่าการเสพข่าวที่มีความหดหู่ สะเทือนอารมณ์มากเกินไป อาจส่งผลเสียกับสภาพจิตใจ จนเสี่ยงเป็นโรค PTSD หรือ โรคที่เกิดความกดดันต่อจิตใจได้

สุขภาพจิตดี รับปีเสือ ด้วย 7 ข้อนี้
“ซึมเศร้า” นับเป็นโรคใกล้ตัวของคนในยุคปัจจุบัน ด้วยบริบทสังคมที่เปลี่ยนไป ทั้งในเรื่องของงานที่มีความกดดันและเร่งรีบ ปัญหาเรื่องความรัก ข่าวสาร สถานการณ์บ้านเมือง ฯลฯ

7 โรคจิตเวชที่พบบ่อย
โรคจิตเวช คือกลุ่มอาการทางจิตใจหรือพฤติกรรมที่ทำให้ผู้ป่วยมีความบกพร่องในกิจวัตรต่าง ๆ หรือเกิดความทุกข์ทรมาน ซึ่งหลายคนไม่รู้ว่าตัวเองป่วย หรือบางคนรู้แต่ไม่มาพบแพทย์ ทำให้อาการหนักขึ้นเรื่อย ๆ จนนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายถึงชีวิต

ทำความรู้จักกับโรคซึมเศร้ากันเถอะ
โรคซึมเศร้าเป็นโรคทางจิตเวชที่มีอารมณ์เศร้าหรือความสุขหายไปเป็นอาการเด่น เกิดจากการที่มีความผิดปกติในการหลั่งสารเคมีของสมองบริเวณส่วนของความคิด อารมณ์ ความรู้สึกและพฤติกรรม ส่วนใหญ่จะเริ่มพบได้ในช่วงวัยรุ่น

9 วิธีสังเกตตัวเองว่าเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้า
การเปลี่ยนของสังคมและสภาวะแวดล้อมต่าง ๆ ส่งผลให้คนป่วยด้วยโรคซึมเศร้ามากขึ้น บางคนที่ไม่รู้ตัวว่าตัวเองมีภาวะซึมเศร้าสามารถสังเกตอาการได้ดังนี้ ไม่ค่อยสนใจหรือไม่ค่อยมีความสุขกับสิ่งรอบตัวหรือกิจกรรมที่เคยชอบ

จะรู้ได้อย่างไรว่าเป็น “ซึมเศร้า”
สำหรับสถานการณ์โควิดระลอกใหม่ตอนนี้หลายๆ คนมีการปรับตัวและรับมือได้มากขึ้นกว่าช่วงปีที่ผ่านมา ส่วนหนึ่งเพราะเคยมีประสบการณ์การปรับตัวและทำความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมาแล้ว
99