หักนิ้ว เสี่ยงนิ้วล็อคจริงหรือ ?
หลายคนคงนั่งหักนิ้วผ่อนคลายกันอยู่ แล้วความเชื่อที่ว่าหักนิ้วบ่อยๆ ระวังเป็นนิ้วล็อค อันนี้จริงหรือเปล่า ?

นิ้วล็อก โรคไม่อันตราย แต่น่ารำคาญ
อาการนิ้วล็อคส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่ใช้มือทำต่อเนื่องเป็นเวลานานมากเกินไป ก็อาจทำให้เกิดอาการนิ้วล็อคได้

ปรับพฤติกรรม ห่างไกลนิ้วล็อค
นิ้วล็อคมักพบได้บ่อยในกลุ่มอายุ 40-60 ปี ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ซึ่งปัจจัยเสี่ยงคือพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่ใช้มือทำต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น การถือหรือแบกของหนักเป็นเวลานาน ใช้อุปกรณ์ที่ต้องออกแรงกดต่อเนื่อง หรือแม้กระทั่งการใช้โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์มากเกินไป ก็อาจทำให้เกิดอาการนิ้วล็อคได้

5 วิธีคลายล็อค
อาการนิ้วล็อค ส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่ใช้มือทำต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น การถือหรือแบกของหนักเป็นเวลานาน

ใช้มือไม่พัก ระวังนิ้วล็อก
อาการนิ้วล็อค ส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่ใช้มือทำต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น การถือหรือแบกของหนักเป็นเวลานาน ใช้อุปกรณ์ที่ต้องออกแรงกดต่อเนื่อง หรือแม้กระทั่งการใช้โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์มากเกินไป

4 ระยะ นิ้วล็อก ที่เป็นแล้วห้ามละเลย
โรค นิ้วล็อค มักมีอาการเจ็บที่ฝ่ามือ บริเวณใต้ข้อต่อโคนนิ้วมือ หากเป็นมากขึ้นอาจมีอาการสะดุดเวลากำหรือเหยียดนิ้วมือได้ โดยอาการของโรคมักพบมากหลังจากตื่นนอนตอนเช้า หรือตอนที่ใช้งานมือหนัก ๆ ต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน

“ ช้อปปิ้ง ” ของหนัก ต้องระวัง นิ้วล็อค
ช่วงนี้หลายคนไป Super market เพื่อซื้อข้าวของเครื่องใช้ และอาหารกันเป็นจำนวนมาก และต้องยกของหนัก ๆ บ่อยๆ ซึ่งอาจทำให้เสี่ยงนิ้วล็อค ทำให้มือต้องรับน้ำหนักเป็นเวลานาน รวมทั้งทำซ้ำๆ บ่อยๆ อาการนิ้วล็อคมักพบได้ทั่วไปในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย และมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นบ่อยที่สุดกับผู้ที่มีอายุ 40-60 ปี

ท่าบริหารแก้อาการ นิ้วล็อก แบบง่ายๆ
โรค นิ้วล็อค เกิดจากปลอกหุ้มเอ็นกล้ามเนื้อบริเวณนิ้วอักเสบและหนาขึ้น ทำให้เอ็นที่อยู่ภายในไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ตามปกติ มักเกิดกับนิ้วโป้ง นิ้วกลาง และ

” นิ้วล็อค ” รักษาได้แค่สะกิด
ปัจจุบันแพทย์จะใช้เครื่องมือพิเศษ พร้อมด้วยเครื่องอัลตราซาวด์ โดยฉีดยาชาที่มือแล้วสอดเข็มเข้าไปบริเวณโคนนิ้วที่มีอาการ นิ้วล็อค จากนั้นใช้ปลายเข็มสะกิดปลอกหุ้มเอ็นนิ้ว ตัดปลอกหุ้มเส้นเอ็นที่รัดเส้นเอ็นให้ขาดออกจากกันเหมือนการผ่าตัดปกติ ซึ่งจะใช้เวลาเพียง 5 นาที และสามารถโดนน้ำได้ตามปกติหลังครบ 24 ชั่วโมง
911