นพ-กฤษฎิ์-พฤกษะวัน - โรงพยาบาลเวชธานี
Vejthani
  • Readers Rating
  • Rated 4.3 stars
    4.3 / 5 (11 )
  • Your Rating


Hero image

นพ.กฤษฎิ์ พฤกษะวัน

ศัลยศาสตร์กระดูกและข้อเฉพาะทางด้านเท้าและข้อเท้า

  • ประสบการณ์ดูแลคนไข้เรื่องเท้า
  • มากกว่า 8 ปี

  • ประสบการณ์ผ่าตัดรักษาเท้า
  • มากกว่า 100 เคสต่อปี

  • ประสบการณ์ดูแลคนไข้รักษาเท้า
  • มากกว่า 1,000 เคสต่อปี

แบ่งปันประสบการณ์ รักษาอาการเท้าผิดรูป

กับ นพ.กฤษฎิ์-พฤกษะวัน

 

#เท้าแบน อุปสรรคของนักกอล์ฟ รักษาหายได้ด้วยแพทย์เฉพาะทาง

มีปัญหาเวลาไปแข่งขันกอล์ฟข้อเท้าพลิกบ่อยเพราะเป็นเท้าแบน จนทำให้เวลาที่ต้องไปแข่งจะรู้สึกกังวลและไม่สบายใจครับ ทางคุณพ่อคุณแม่ก็เลยหาโรงพยาบาลที่รับรักษาเกี่ยวกับโรคเท้าแบนโดยเฉพาะ แต่ก็ยังไม่ตอบโจทย์ เลยลองค้นหาด้วยคำว่า ‘King of Bones’ จนมาเจอโรงพยาบาลเวชธานี แล้วก็มาเจอเคสที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน เลยตัดสินใจนัด คุณหมอกฤษฎิ์ พฤกษะวัน ทันที ประทับใจมาก ๆ เพราะคุณหมอให้ข้อมูลได้ครบถ้วน หลังจากนั้นเราก็ตัดสินใจที่จะผ่าตัดเลยครับ หลังจากการผ่าตัดตอนนี้ผมดีใจมากเลยครับ เพราะจะได้กลับไปตีกอล์ฟเหมือนเดิม

 

ก้าวใหม่ ไร้ความเจ็บปวด ผ่าตัดเท้าผิดรูป

ประมาณ 3 ปีก่อนเราเป็นคนชอบวิ่งมาก ๆ ค่ะ พอวิ่งเสร็จกลับมาบ้านเรารู้สึกว่า เอ๊ะ!ทำไมมันปวดเท้าจัง แล้วเท้าก็พลิกบ่อยด้วยค่ะ พอเวลาที่เท้าพลิก มันก็จะมีอาการปวดมาก ๆ จนวันนึงเราเลยตัดสินใจมาหา คุณหมอกฤษฎิ์ พฤกษะวัน เลยค่ะ หลังจากได้เข้ามาพบคุณหมอแล้ว ก็พบว่าตัวเองเป็นเท้าแบนค่ะ คุณหมอให้ข้อมูลได้ดี ละเอียดมาก จนเราเข้าใจเลยค่ะ แล้วคุณหมอก็แนะนำว่าให้ผ่าตัด เราก็ตัดสินใจผ่าตัดเลยค่ะ เพราะที่ผ่านมาเราลองวิธีรักษามาหมดแล้วแต่ไม่ได้ผล หลังจากออกจากห้องผ่าตัดไม่ได้รู้สึกเจ็บเท่าไหร่ค่ะ แล้วก็มีพยาบาลมีคอยดูแล แล้วก็จะมีเจ้าหน้าที่มาบอกเรื่องการลงน้ำหนักที่เท้าหลังผ่าตัด ประทับใจทีมแพทย์และพยาบาลมาก ๆ เลยค่ะ

 

ไม่ต้องทนเจ็บปวด บวมแดงที่เท้าอีกแล้วหลังรักษาเท้าผิดรูปด้วยการผ่าตัด

คุณสุดารัตน์ พูนตรีรัตน์ เล่าความประทับใจในทีมแพทย์และพยาบาล ที่ใส่ใจในการบริการและให้คำแนะนำดีมาก ๆ

Speaker Experiences


January 2022
นพ. กฤษฎิ์ พฤกษะวัน ได้รับเกียรติเชิญเป็นวิทยากรในงานประชุมวิชาการประจำปี 2021 THOFAS Annual Meeting 2021+

นพ. กฤษฎิ์ พฤกษะวัน ศัลยแพทย์กระดูกและข้อเฉพาะทางด้านเท้าและข้อเท้า โรงพยาบาลเวชธานีได้รับเกียรติเชิญเป็นวิทยากรในงานประชุมวิชาการประจำปี 2021 THOFAS Annual Meeting 2021+  ของอนุสาขากระดูกเท้าและข้อเท้าแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2565 โดยร่วมบรรยายในหัวข้อ “การผ่าตัดแก้ไขกระดูกเท้าหักจากโรคเบาหวาน”  ณ โรงพยาบาลวชิรพยาบาล

โดยมีแพทย์ทั่วไปและแพทย์สาขาออร์โธปิดิกส์ บุคลากรทางการแพทย์จากโรงพยาบาลทั่วประเทศเข้ารับฟังการบรรยาย ถือได้ว่าเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาการเกี่ยวกับโรคกระดูกเท้าหักที่เกิดจากแผลเบาหวาน รวมถึงอัพเดทการรักษาการใช้เทคนิค และเทคโนโลยีที่ใช้ในการรักษา เพื่อให้กับผู้ร่วมงานได้นำไปปรับใช้ได้ในอนาคต


 

OCTOBER 2019

 

  • Moderator and committee in 7 th AFFAS 2019 (ASIAN FEDERATION if foot and ankle society)
  • Board committee of Thailand Orthopaedic foot and ankle society

22 OCTOBER 2019
  • Experience using micro-rosso and weil osteotomy for treatment of plantar plate injury.
    The 41 st Annual Meeting of the Royal College of Orthopaedic Surgeons of Thailand.
3 APRIL 2017
  • Decision making in post malleolus fracture 2 nd PMKFAST Annual meeting
17 JULY 2016

Syndesmotic injury 6th Annual Meeting of Thai Orthopaedic society for Sports Medicine 2016


4 APRIL 2016
  • Management of Hallux Valgus 1 st PMKFAST Annual meeting

 

12 JULY 2015

Ankle instability 5 th Annual meeting if Thai Orthopaedic Society for sports medicine


บทความสุขภาพเกี่ยวกับ โรคเท้าและข้อเท้า

นพ.กฤษฎิ์-พฤกษะวัน

ปวดฝ่าเท้า เกิดจากอะไร

ปวดฝ่าเท้าด้านหน้า มักเกิดในคนที่ใส่รองเท้าส้นสูงเป็นประจำ เนื่องจากน้ำหนักตัวจะถ่ายเทไปที่ฝ่าเท้าด้านหน้า บางครั้งอาจมีอาการปวดร้าวไปที่นิ้วเท้าและข้อเท้า อีกทั้งยังทำให้ใต้ฝ่าเท้าหรือใต้นิ้วเท้าเกิดหนังด้านด้วย

อ่านต่อ…

พฤติกรรมที่ทำให้เอ็นร้อยหวายอักเสบ

เอ็นร้อยหวายอักเสบ อาการปวดกระดูกหลังส้นเท้าที่สร้างความทรมานให้ใครหลายต่อหลายคน ส่วนมากเกิดในกลุ่มคนอายุเยอะจากความเสื่อมตามวัย พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง โดยเฉพาะคนที่เป็นโรคเกาต์ เรื้อนกวาง ความดันโลหิตสูง น้ำหนักเกิน หรือคนที่ใช้ยาสเตียรอยด์ ยาฟลูออโรควิโนโลนเป็นเวลานาน และยังเกิดได้ในกลุ่มคนที่มีปัญหาเอ็นร้อยหวายสั้น เท้าแบน เท้าผิดรูป รวมถึงพฤติกรรมการใช้งานเท้าแบบหนัก ๆ ซ้ำ ๆ

อ่านต่อ…

ปวดส้นเท้าบ่อยๆ สัญญาณเตือนรองช้ำอักเสบ

อาการปวดส้นเท้าและฝ่าเท้ามากหลังตื่นนอน เป็นอาการของโรครองช้ำอักเสบ หรือที่เรียกว่าเอ็นฝ่าเท้าอักเสบ มักเกิดจากเวลาที่เดินลงน้ำหนัก หรือกระแทกเท้ามากเกินไป จึงอาจมีอาการปวดมากหลังตื่นนอน บางคนอาจคิดว่าเป็นแค่อาการปวดเมื่อยทั่วไป ไม่เป็นไร เดี๋ยวคงหาย แต่เมื่อมีอาการมากขึ้นจะรู้สึกปวดส้นเท้าตลอดเวลา และนั่นอาจเป็นสัญญาณของโรครองช้ำอักเสบ และหากปล่อยไว้อาการอาจเรื้อรังได้

อ่านต่อ…

5 วิธีเช็กเท้าแบนโดยแพทย์เฉพาะทาง

การเช็กว่าตัวเองเท้าแบนไหม เบื้องต้นผู้ป่วยสามารถเช็กได้ง่าย ๆ ด้วยตัวเอง โดยการยืนลงน้ำหนักแล้วเทียบความสูงอุ้งเท้าด้านใน ระหว่างตอนยืนกับตอนนั่ง หากไม่ปรากฏส่วนโค้งเว้าขณะยืน แสดงว่ามีแนวโน้มเกิดภาวะเท้าแบน

อ่านต่อ…

เท้าแบน เรื่องเล็กน้อยแต่ไม่ควรมองข้า

เคยสังเกตกันไหมครับว่า เวลาเดินมากๆหรือใช้งานเท้ามากๆ มักมีอาการปวดเท้า ซึ่งอาการปวดเท้าอาจไม่ได้เกิดจากรองช้ำเพียงอย่างเดียว แต่อาจเป็นเพราะเท้าแบนกว่าปกติ แล้วภาวะเท้าแบบนี้คืออะไรกัน และส่งผลกับการใช้ชีวิตมากน้อยแค่ไหนกัน”ภาวะเท้าแบน” ที่เกิดขึ้นในคนส่วนใหญ่ มักไม่ปรากฏสัญญาณหรืออาการใด ผู้ป่วยบางรายอาจรู้สึกเจ็บเท้า โดยเฉพาะบริเวณส้นเท้าหรืออุ้งเท้า อาการเจ็บนั้นจะยิ่งแย่ลงเมื่อต้องทำกิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งเกิดอาการบวมที่ข้อเท้าด้านในร่วมด้วย โดยทั่วไปแล้ว ผู้ที่เป็นภาวะเท้าแบนไม่จำเป็นต้องได้รับการรักษาหากไม่ได้มีอาการเจ็บปวดใด ๆ ที่เท้า

อ่านต่อ…

กระดูกเท้างอก ไม่ต้องทนเจ็บ รักษาได้

ใครที่มีอาการเจ็บหลังวิ่ง หรือจากเล่นเกีฬา อาจมีสาเหตุมาจากเอ็นร้อยหวายอักเสบ และถ้าปล่อยให้เอ็นร้อยหวายอักเสบจะเกิดหินปูนเกาะที่กระดูกเท้า หรือที่เรียกว่ากระดูกงอกจากเอ็นร้อยหวายอักเสบ แรก ๆ จะไม่แสดงอาการอะไรเลย แต่ผู้ป่วยจะรับรู้ได้เมื่อกระดูกงอกจนกดทับเส้นประสาท ทำให้มีอาการปวดเท้าเรื้อรัง บางรายไม่สามารถกลับไปเล่นกีฬาได้เหมือนเดิม

อ่านต่อ…

ปวดเท้าไม่รักษาปล่อยไว้อาจเรื้อรัง

ปวดส้นเท้าและฝ่าเท้ามาก สิ่งเหล่านี้อาจเกิดจากโรครองช้ำอักเสบ หรือที่เรียกเอ็นฝ่าเท้าอักเสบ ใครบ้างที่เสี่ยงเป็นโรคนี้ และโรคนี้จะมีอาการอะไรบ้าง ลองเข้ามาเช็กดูกันเลย

อ่านต่อ…

รองเท้าส้นสูงภัยที่มาพร้อมกับความสวย

เชื่อว่าสาว ๆ หลายคนที่ชอบใส่รองเท้าส้นสูง ใส่เพราะว่าจะช่วยให้ขาเรียว และยังช่วยเสริมบุคลิกอีกด้วย แต่รู้ไหมว่าการใส่ส้นสูงนานเกินไป จะมีผลกระทบกับเท้าและข้อเท้าอย่างมาก เรามาดูอาการของโรคนี้กันเลย ว่าจะมีอะไรบ้าง

อ่านต่อ…

3 ระดับอาการข้อเท้าแพลง

รู้หรือไม่! ว่าทุกคนบนโลกไม่ได้มีรูปแบบเท้าที่เหมือนกัน ที่สำคัญแบบเท้าบางประเภท ก็อาจก่อให้เกิดปัญหาตามมาอีกด้วย

อ่านต่อ…

ทางเลือกรักษา เอ็นข้อเท้าอักเสบ ด้วยเกล็ดเลือดเข้มข้น

การรักษาโรคเอ็นใต้ฝ่าเท้าอักเสบ หรือ โรครองช้ำ และอาการปวดข้อเท้าเรื้อรังทางด้านหลัง มีสาเหตุมาจากเอ็นร้อยหวายอักเสบ จะไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป วันนี้ทางโรงพยาบาลเวชธานีจะมาแนะนำวิธีการรักษาด้วยเกล็ด เรามาดูวิธีการรักษากันเลย

อ่านต่อ…

การผ่าตัดข้อเท้า ด้วยวิธีผ่าตัดส่องกล้อง แผลเล็ก เจ็บน้อย ฟื้นตัวเร็ว

ในปัจจุบันวิวัฒนาการทางการแพทย์มีความก้าวหน้ามากขึ้นตามลำดับ เช่นเดียวกับการผ่าตัดทางศัลยกรรมกระดูกข้อเท้าก็เช่นกัน วันนี้ทางโรงพยาบาลเวชธานีจะพาทุกคนมาดูวิธีการที่ทางโรงพยาบาลใช้รักษากันค่ะ

อ่านต่อ…

แผลเบาหวานที่เท้า รักษาถูกวิธี ไม่ต้องตัดขา

ผู้ที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน มักจะมีภาวะแทรกซ้อนของแผลเบาหวานที่เท้า ซึ่งบางรายอาจจะต้องตัดขาทิ้ง แต่จะดีกว่าไหม หากโรงพยาบาลเวชธานีมีการรักษาที่ทำให้ท่านไม่ต้องเสียขาไป

อ่านต่อ…

วีดีโอสุขภาพเกี่ยวกับ โรคเท้าและข้อเท้า

 

 

สังเกตตัวเองซักนิด ก่อนนิ้วหัวแม่เท้าเอียงผิดรูป

สำหรับสาว ๆ ที่ต้องใช้ชีวิตประจำวันอยู่กับส้นสูง ต้องไม่พลาดคลิปนี้เลยค่ะ เพราะคุณอาจมีอาการนิ้วหัวแม่เท้าเอียงผิดรูป จนทำให้เรารู้สึกเจ็บปวด วันนี้คุณโบว์จะพาไปทำความรู้จักกับโรคนี้ เพื่อให้ทุกคนสังเกตตัวเองมากขึ้น

 

เอ็นข้อเท้าหลวมภัยเงียบที่ควรระวัง
หลายคนที่ชอบใส่รองเท้าส้นสูง เพื่อทำให้บุคลิกภาพเราดีขึ้น ต้องฟังคลิปนี้ เวลาเราใส่ไปนาน ๆ อาจก่อให้เกิดอาการข้อเท้าหลวม วันนี้เรามาฟัง นพ.กฤษฎ์ พฤกษะวัน ให้ความรู้กันเลยค่ะ

 

ภัยเงียบที่มากับความสวยของรองเท้าส้นสูง
วันนี้คุณวุ้นเส้นจะพาทุกคนไปทำความรู้จักกับภัยเงียบสำหรับคนที่ชอบใส่รองเท้าส้นสูง และแนะแนวทางการรักษากับ นพ.กฤษฎ์ พฤกษะวัน

ปรึกษาแพทย์ได้เลยวันนี้

เราและทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญพร้อมให้คำปรึกษา

มาตราฐาน JCI

กรุณาใส่รายละเอียดทางการแพทย์ และประวัติทางการแพทย์ของท่านให้ครบถ้วนที่สุด ซึ่งจะช่วยให้แพทย์ของเราให้คำปรึกษาได้อย่างแม่นยำและถูกต้องมากขึ้น

กรณีเร่งด่วนกรุณาติดต่อโดยตรงกับทางโรงพยาบาลได้ที่

Hotline 02 734 0000